แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ ยกพี่ให้เป็นครู ยกน้องให้เป็นงาน ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณกนก เปาะอิแตดาโอะ

ชื่อโครงการ ยกพี่ให้เป็นครู ยกน้องให้เป็นงาน

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2017 ถึง 31 มีนาคม 2018


กิตติกรรมประกาศ

"ยกพี่ให้เป็นครู ยกน้องให้เป็นงาน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ยกพี่ให้เป็นครู ยกน้องให้เป็นงาน



บทคัดย่อ

โครงการ " ยกพี่ให้เป็นครู ยกน้องให้เป็นงาน " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2017 - 31 มีนาคม 2018 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 249,750.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 5450 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สมาคมเด็กและเยาวชนเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ (กลุ่มลูกเหรียง) ดำเนินงานภายใต้พันธกิจ 3 ประเด็นหลัก ประกอบด้วย 1.ด้านปกป้อง คุ้มครอง ผ่านโครงการโรงเรียนปลอดภัยในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กในกระบวนการสันติภาพ2.ด้านช่วยเหลือเยียวยา ผ่านโครงการเด็กทุนลูกเหรียง และโครงการส่งเสริมอาชีพ 3.ด้านการส่งเสริมพัฒนาในกลุ่มเป้าหมายเด็ก เยาวชน โดยความร่วมมือร่วมกับองค์กร หน่วยงานที่สนับสนุนงานด้านการพัฒนาเด็กเยาวชน เพื่อเกิดการสนับสนุน ช่วยเหลือ ส่งเสริมโอกาสในการพัฒนาแนวคิด คุณภาพชีวิต สู่การเป็นพลเมืองชายแดนใต้ที่มีคุณภาพต่อไป ตลอดระยะเวลา 15 ปีในการดำเนินงานของสมาคมฯ เราสามารถสร้างเด็ก เยาวชน ให้เข้าถึงการศึกษา เข้าถึงข้อมูล และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผ่านกระบวนการมากมาย พร้อมกับการเรียนรู้ของสมาคมฯ ที่เติบโตจากการเป็นผู้รับ จากเด็ก เยาวชนในพื้นที่ชายแดนใต้ พัฒนาสู่องค์กรที่ทำงานช่วยเหลือเด็ก พัฒนาเด็กและเยาวชน โดยสามารถติดตามการดำเนินงานสมาคมฯ ได้อย่างต่อเนื่องจาก www.Luukrieang.org และ www.facebook.com/luukrieang
โครงการเด็กทุน ลูกเหรียง เป็น 1 ในพันธกิจของสมาคมฯในการส่งเสริมให้เด็กเยาวชนได้เรียนหนังสืออย่างต่อเนื่อง จนจบระดับปริญญาตรี ผ่านทุนการศึกษาที่ต้องระดมทุนอย่างหนักในทุกปี เพื่อให้สมาชิกในโครงการ จำนวน 174 คน ได้เรียนหนังสือจนจบ ควบคู่กับการเยียวยา พัฒนาให้เข้มแข็ง และเป็นกำลังสำคัญในการทำงานช่วยเหลือเพื่อนคนอื่นๆ และช่วยเหลือสังคม ซึ่งในปัจจุบันมีเด็กทุน ที่จบการศึกษาและมีงานทำที่มั่นคง จำนวน 26 คน โดยมีอดีตเด็กทุนลูกเหรียง ที่จบการศึกษาแล้วจำนวนหนึ่ง ที่มีความรู้ ความสามารถในงานศิลปะ และการประดิษฐ์วัสดุท้องถิ่นประกอบชิ้นงานศิลปะ และได้ทำงานในบริษัทที่มีความมั่นคงในพื้นที่ภาคกลาง ลูกเหรียงจึงพัฒนาโครงการ ยกพี่ให้เป็นครู ยกน้องให้เป็นงาน เพื่อให้มีการส่งต่อองค์ความรู้ ทักษะด้านอาชีพ ต่อยอดงานศิลปะเพื่อการเยียวยา ให้กับแกนนำเด็กทุนลูกเหรียงที่มีความสนใจงานศิลปะ และตัวแทนแม่ของน้องๆในโครงการ พร้อมกับการอบรมการเล่าเรื่องเพื่อการก้าวผ่าน _เมื่อฉันยิ้มได้” โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ และจัดให้มีการนำเสนอผลงาน เรื่องราว สร้างบรรยากาศการพูดคุย สร้างแรงบันดาลใจต่อให้กับคนอื่นๆ เพราะลูกเหรียงเชื่อว่า สังคมควรได้ตระหนักรับรู้ มิติใหม่ของการเยียวยาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ คนที่สูญเสียเองควรนำเสนอภาพของการเยียวยาในรูปแบบใหม่ ที่แตกต่างจากงานสังคมสงเคราะห์ การเยียวยาเพื่อการก้าวผ่านควรเป็นเรื่องราวที่สร้างสรรค์ นำไปสู่การเป็นต้นแบบแห่งแรงบันดาลใจบนข้อเท็จจริงที่สามารถจับต้องได้ บนพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ ด้วยความเข้มแข็งและก้าวผ่านโดยพวกเราเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน และต่อยอดองค์ความรู้ด้วยทรัพยากรในท้องถิ่น
  2. เพื่อสร้างทักษะอาชีพให้กับเยาวชนคนรุ่นใหม่ ได้สืบสานต่อยอด นำไปสู่การสร้างรายได้ในอนาคต
  3. เพื่อใช้ศิลปะในการเยียวยา บำบัดเด็ก เยาวชน ผู้ปกครองที่ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบ
  4. เพื่อสร้างแนวความคิดการพึ่งตนเองระยะยาวอย่างเข้มแข็งตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
  5. เพื่อให้เกิดพื้นที่สาธารณะ นำเสนอเรื่องราว มุมมอง วิถีชีวิต ผ่านงานศิลปะเพื่อการเยียวยาและก้าวข้ามสู่สาธารณะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมการสร้างมูลค่าจากวัสดุท้องถิ่นเป็นงานศิลปะบำบัด
  2. Luukrieang Living Night
  3. การอบรมบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมการสร้างมูลค่าจากวัสดุท้องถิ่นเป็นงานศิลปะบำบัด

วันที่ 15 กรกฎาคม 2018

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมทีมเพื่อวางแผน ออกแบบกิจกรรม กำหนดทิศทางการดำเนินงานให้มีความสอดคล้องกันในการจัดอบรม และจัดฝ่ายแจงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรที่มีความเกี่ยวข้อง เพื่อประสานความร่วมมือด้านการออกแบบงานเพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
  • ประสานงาน วิทยากร และผู้เข้าร่วมตามที่ได้ออกแบบ
  • จัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์สำหรับการจัดอบรม ฝึก สอน พร้อมทุกเวลา
  • ประชุมทีมย่อยเพื่ออัพเดทความก้าวหน้าด้านการจัดเตรียมงานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พร้อมจัดอบรม
  • จัดอบรมตามแผน
  • สรุปและถอดบทเรียน อัพเดทการดำเนินงานด้านการเตรียมความพร้อมทุกฝ่ายผ่านกลุ่มไลน์อย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เชิงปริมาณ 1. มีจำนวนผู้เข้าร่วมในกลุ่มเป้าหมายหลัก ไม่ต่ำกว่า 90% และสามารถพัฒนาชิ้นงานของตัวเองได้ อย่างมีคุณภาพ สามารถนำเสนอได้ไม่ต่ำกว่า 20 ชิ้นงาน 2. มีจำนวนผู้เข้าร่วมในกลุ่มเป้าหมายรอง ไม่ต่ำกว่า70% 3. มีผลงานจากโครงการ ไม่ต่ำกว่า 20 ชิ้นงาน

เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้ ทักษะ สามารถพัฒนาชิ้นงานของตัวเองได้อย่างมีคุณภาพ 2. ผลงานจากโครงการสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในอนาคตได้

 

50 50

2. Luukrieang Living Night

วันที่ 15 กรกฎาคม 2018

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมทีมงาน ผู้เข้าร่วมอบรม เจ้าของผลงาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมตลอดโครงการ ประชุมร่วมกัน เพื่อชี้แจงการดำเนินงานที่ผ่านมา และชี้แจงการจัดกิจกรรม Luukrieang Living Night และอัพเดทผลงานจากการดำเนินโครงการ เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในผลงานที่ได้ผลิตออกมา ออกแบบ และกำหนดแนวทางการจัดกิจกรรมดังกล่าวให้มีความเป็นเรื่องราวเดียวกัน และมีความสอดคล้องกันในแนวความคิด อีกทั้งกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ 2.ประสานงานผู้ใหญ่ใจดี ทีมนักพูดสร้างแรงบันดาลใจ ศิลปินที่เชิญ พร้อมกับพูดคุยถึงประเด็นการพูดคุยของวิทยากรเพื่อให้สอนคล้องกับกิจกรรมที่จัดขึ้น อีกทั้งประสานผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.ออกแบบ ผลิตสื่อ เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้เกิดกระแสด้านการสร้างพื้นที่ปลอดภัยด้วนศิลปะบำบัดจากผลงานของผู้เข้าร่วม - นำผลงานทีได้ไปผลิตเข้าสู่กระบวนการพร้อมเปิดตัวผลงานเพื่อให้มีความพร้อมและเป็นผลงานที่สมบูรณ์ที่สุด 4.ทุกฝ่ายดำเนินการจัดเตรียมตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับพร้อมให้ข้อมูลอัพเดทในการจัดประชุมย่อยครั้งต่อไป 5.ประชุมทีมย่อย เพื่ออัพเดทการจัดเตรียมการดำเนินงาน พร้อมทั้งนำผลงานมาให้ทีมได้สัมผัสในรูปแบบที่สมบูรณ์ที่สุด 6.จัดกิจกรรมตามแผน 7.สรุปและถอดบทเรียน อัพเดทการดำเนินงานด้านการเตรียมความพร้อมทุกฝ่ายผ่านกลุ่มไลน์อย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เชิงปริมาณ 1. มีจำนวนผู้รับชมกิจกรรมผ่านสื่อ เพจ และการนำเสนอโครงการผ่านสื่อต่าง มากกว่า 5,000 ครั้ง เชิงคุณภาพ 1. ผลงานจากโครงการสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในอนาคตได้ 2. มีการนำเสนอเรื่องราวโครงการผ่านสื่อต่างๆ

 

300 300

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน และต่อยอดองค์ความรู้ด้วยทรัพยากรในท้องถิ่น 2. เพื่อสร้างทักษะอาชีพให้กับเยาวชนคนรุ่นใหม่ ได้สืบสานต่อยอด นำไปสู่การสร้างรายได้ในอนาคต 3. เพื่อใช้ศิลปะในการเยียวยา บำบัดเด็ก เยาวชน ผู้ปกครองที่ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบ 4. เพื่อสร้างแนวความคิดการพึ่งตนเองระยะยาวอย่างเข้มแข็งตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 5. เพื่อให้เกิดพื้นที่สาธารณะ นำเสนอเรื่องราว มุมมอง วิถีชีวิต ผ่านงานศิลปะเพื่อการเยียวยาและก้าวข้ามสู่สาธารณะ

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการสร้างมูลค่าจากวัสดุท้องถิ่นเป็นงานศิลปะบำบัด  (2) Luukrieang Living Night (3) การอบรมบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ยกพี่ให้เป็นครู ยกน้องให้เป็นงาน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรรณกนก เปาะอิแตดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด