directions_run

ค่ายฝึกอบรมการพัฒนาศักยภาพองค์กรภาคประชาสังคมระดับต.และการสื่อสารชุมชน MOBILE JOUNALIST (MOJO)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ค่ายฝึกอบรมการพัฒนาศักยภาพองค์กรภาคประชาสังคมระดับต.และการสื่อสารชุมชน MOBILE JOUNALIST (MOJO)
ภายใต้โครงการ ขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมประชาภาคสังคม ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้
ภายใต้องค์กร องค์กร???
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 17 กันยายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 17 กันยายน 2560 - 31 มีนาคม 2561
งบประมาณ 500,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มเฌอบูโด
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเพาซี ยะซิง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ รุ่นที่ 1 กลุ่มเยาวชนอำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีรุ่นที่ 2 กลุ่มดอกไม้ยิ้ม ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลารุ่นที่ 3 กลุ่มชุมชนแว้ง ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาสรุ่นที่ 4 กลุ่มชุมชนโคกสะตอ ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสรุ่นที่ 5 กลุ่มชุมชนอั
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 17 ก.ย. 2560 31 ธ.ค. 2560 500,000.00
รวมงบประมาณ 500,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันโลกก้าวสู่การสื่อสารยุค 4.0 ทุกคนสามารถสื่อสารเรื่องราวของตัวเองได้ และเผยแพร่สู่สาธารณะโลกภายนอกอย่างง่ายดายและรวดเร็วการสื่อสารมวลชนบนมือถือเป็นรูปแบบใหม่ของการเล่าเรื่องเกี่ยวกับสื่อใหม่ๆ ที่ผู้สื่อข่าวในปัจจุบันใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาที่มี การเชื่อมต่อเครือข่ายเพื่อเผยแพร่ข่าวจากชุมชนของตน เป็นนักสื่อสารเรื่องราวชุมชนดังนั้นพลังของการสื่อสารอยู่ในมือเรา หากเราใช้เป็นและมีทักษะในการผลิตสื่อ และสามารถเพิ่มศักยภาพพัฒนากลุ่ม องค์กร ชุมชน และสังคมต่อไป MOJO mobile journalism คือ การผลิตสื่อด้วยโทรศัพท์มือถือ ทั้งสื่อเสียง ภาพนิ่ง ภาพวีดีโอ การตัดต่อ ตลอดจนการส่งสารเผยแพร่ต่อสาธารณะบนโลกออนไลน์ เป็นการสื่อสารแนวในยุค 4.0 การสื่อสารที่ไร้พรมแดนแต่ หลายคนอาจจะมองเป็นเรื่องง่าย ๆ หรือ เรื่องยิบย่อยที่ไม่น่าจะเป็นประเด็นอะไรมากมายนัก ใคร ๆ ก็ทำได้ แต่หากมองภูมิทัศน์สื่อปัจจุบันที่ผู้ใช้สื่อมีความสมารถในการผลิตสื่อได้ จากเครื่องมือชิ้นนี้ หรือ ที่เราเรียกกันในวงการว่า User-Generated Content (UGC) เราจะเห็นว่า เนื้อหาหลายส่วน สร้างปัญหาให้กับทั้งตัวผู้สร้างและตัวผู้เสพ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาพื้น ๆ เช่น เรื่องลิขสิทธิ์ การกระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิผู้อื่น จนถึงความผิดที่รุนแรง เช่น กระทำให้ผู้อื่นเกิดความเสียหาย ยั่วยุ ปลุกปั่น สร้างความอาฆาตร้ายดั่งเช่นสถานการณ์ของพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ในปัจจุบันมีเหตุการณ์ความไม่สงบเกิดขึ้นไม่เว้นแต่ละวัน ความรวดเร็วของสื่อก็ไม่แพ้สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเช่นกัน สื่อปัจจุบันมีสองด้านอย่างที่ได้กล่าวมาข้างต้นมีทั้งด้านบวกและด้านลบ การกระจายสื่อที่ไม่มีมูลความจริง หรือการไม่เท่าทันสื่อนั้นทำให้เป็นเหตุในความไม่เข้าใจต่อกัน อาจจะดูเป็นเรื่องเล็กน้อยแต่พลังของสื่อสามารถทำให้ พี่น้องแตกแยกกันได้โดยที่ไม่ต้องใช้อาวุธรุนแรงใดๆ - สาเหตุที่ต้องทำโครงการนี้ มาจากอะไร ของใคร ที่ไหน สังคมต้องหากลไกอะไรบางอย่างที่จะทำให้ เนื้อหาที่ผลิตโดยผู้เสพ หรือ User-Generated Content (UGC) สามารถที่จะอยู่ในพื้นที่สาธารณะได้อย่างมีพลัง ทรงประโยชน์ และ สร้างสรรค์ เพราะไม่เพียงแค่เป็นผู้ผลิตสื่อเท่านั้นแต่ชุมชนสามารถวิเคราะห์ประเด็น ข้อเท็จจริง และสื่อสารบนพื้นฐานความถูกต้องมากขึ้น - แนวทาง/วิธีการที่จะแก้ปัญหาได้ และวิธีการนั้นจะแก้ปัญหานั้นได้อย่างไร เริ่มต้นด้วยการผ่านกระบวนการอบรมการใช้มือถือในรูปแบบ Mojo หรือ Mobile Journalism สามารถเป็นกลไกผลักดันให้การใช้สื่ออย่างเท่าทัน คือ ทั้งรู้จัก และ รู้ทันเกิดขึ้นได้พร้อม ๆ กัน เพราะการได้หัดทดลองผลิตเนื้อหาสื่อผ่านขั้นตอน โมโจ ทำให้ เนื้อหาต้องผ่านกระบวนการเรียบเรียง ตั้งแต่คิดว่าจะถ่ายอะไร หากถ่ายตัวเอง ตัวเองจะพูดอะไร หากจะถามคนอื่น เช่นการสัมภาษณ์ จะถามใคร ในเรื่องอะไร เสร็จแล้วจึงมาร้อยเรียง เป็นสิ่งที่เราเรียกว่า การลำดับเรื่อง หรือ การร้อยเรื่อง กล่าวคือ UGC เมื่อผ่านกระบวนการสังเคราะห์ดังกล่าวจะแปลงสภาพเป็นสิ่งที่เราเรียกว่า เรื่องที่ผู้เสพสร้างสรรค์ หรือ User-Generated Story หรือ User-Generated Narrative (UGS/UGN) นั้นเอง เมื่อชุมชนสามารถคิดและวิเคราะห์ประเด็น รู้เท่าทันสื่อแล้ว คงไม่อยากที่จะสร้างความเข้าใจต่อกันในพื้นที่แห่งนี้ได้ ที่สำคัญคือการสื่อสาร เพื่อสันติภาพ

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 387,761.02 14 500,000.02
17 ก.ย. 60 - 31 ธ.ค. 60 การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่1 0 8,162.50 8,162.50
17 ก.ย. 60 - 31 ธ.ค. 60 จัดทำเพจสื่อสารเรื่องราวชุมชนเพื่อโปรโมตและเผยแพร่ผลงาน 0 6.00 6,000.00
23 - 25 ก.ย. 60 การอบรมรุ่นที่ 1 0 59,166.67 59,166.67
27 ก.ย. 60 - 29 ต.ค. 60 การอบรมรุ่นที่ 2 0 59,166.67 59,166.67
1 ต.ค. 60 - 31 ธ.ค. 60 การนิเทศติดตามผลการทำงานของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ 0 37.00 37,800.00
1 - 30 พ.ย. 60 การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่3 0 8,162.50 8,162.50
6 - 8 พ.ย. 60 การอบรมรุ่นที่ 3 0 59,166.67 59,166.67
11 - 13 พ.ย. 60 การอบรมรุ่นที่ 4 0 59,166.67 59,166.67
15 - 17 พ.ย. 60 การอบรมรุ่นที่ 5 0 59,166.67 59,166.67
1 ธ.ค. 60 - 31 มี.ค. 61 การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่4 0 8,162.50 8,162.50
8 - 10 ธ.ค. 60 การอบรมรุ่นที่ 6 0 59,166.67 59,166.67
25 ธ.ค. 60 การจัดนิทัศการแสดงผลงาน symposium 0 39.00 39,000.00
31 ธ.ค. 60 - 31 ก.ค. 61 จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน 0 29.00 29,550.00
15 ก.ค. 61 การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่2 0 8,162.50 8,162.50

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2561 16:55 น.