คนสร้างสุข

directions_run

เยาวชนจิตอาสาพัฒนาศักยภาพพื้นที่และวิถีชุมชน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ เยาวชนจิตอาสาพัฒนาศักยภาพพื้นที่และวิถีชุมชน ”

ตำบลบ้านโหนด ม.3,4,6,7 ตำบลเปีียน ม.4 อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิชิต กิจจะเสน

ชื่อโครงการ เยาวชนจิตอาสาพัฒนาศักยภาพพื้นที่และวิถีชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบ้านโหนด ม.3,4,6,7 ตำบลเปีียน ม.4 อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เยาวชนจิตอาสาพัฒนาศักยภาพพื้นที่และวิถีชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโหนด ม.3,4,6,7 ตำบลเปีียน ม.4 อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยาวชนจิตอาสาพัฒนาศักยภาพพื้นที่และวิถีชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " เยาวชนจิตอาสาพัฒนาศักยภาพพื้นที่และวิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโหนด ม.3,4,6,7 ตำบลเปีียน ม.4 อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,000.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 75 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก การแปรปรวนของฤดูกาล ภัยธรรมชาติต่างๆ ส่งผลกระทบต่อการดำรงวิถีชีวิตของมนุษย์ สาเหตุดังกล่าวเกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างฟุ่มเฟือย ทำลายสิ่งแวดล้อม ขาดความรับผิดชอบตระหนักถึงผลกระทบที่จะตามมา ปัจจุบันการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อมาผลิตพลังงาน มาใช้ในภาคอุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง ภาคที่อยู่อาศัย เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน เพื่อตอบสนองความต้องการใช้พลังงาน ส่งผลกระทบต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมติดตามมา ปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากขยะ ทุกวันนี้คนไทยกว่า 60 ล้านคน สามารถสร้างขยะได้มากถึง 14 ล้านตันต่อปี แต่ความสามารถ ในการจัดเก็บขยะกลับมีไม่ถึง 70% ของขยะที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่างๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม คือ 1. อากาศเสีย เกิดจากการเผามูลฝอยกลางแจ้งทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ 2. น้ำเสีย เกิดจากการกองมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้นเมื่อฝนตกจะเกิดน้ำเสียซึ่งไหลลงสู่แม่น้ำทำให้เกิดภาวะมลพิษทางน้ำ 3. แหล่งพาหะนำโรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน 4. เหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน จากการสังเกตพื้นที่ 5 ชุมชน คือ ชุมชนบ้านนาม่วง ชุมชนบ้านนากัน ชุมชนบ้านโหนด ชุมชนบ้านระไมล์ และชุมชนบ้านพรุจา จะพบว่า มีขยะมูลฝอย หรือของเสียมากมายตามสถานที่ต่างๆ เช่น ริมถนน ริมรั้ว ในตลาด ร้านค้าแผงลอย ร้านขายของชำ สถานที่ราชการ บ้านเรือน ศาสนสถาน ฯลฯ โดยสามารถแบ่งลักษณะขยะมูลฝอยที่พบได้ดังนี้ คือ มูลฝอยธรรมดาทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยสด เศษอาหาร กระดาษ โฟม พลาสติก ขวด แก้ว โลหะ ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ กากสารเคมี สารเคมีกำจัดแมลง กากน้ำมัน หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่ใช้แล้ว
การแก้ปัญหาขยะมูลฝอย
1. ก่อนจะทิ้งขยะ เราจะสามารถลดปริมาณขยะและนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้
2. ทิ้งขยะในที่ที่จัดไว้ให้ 3. ควรมีการคัดแยกขยะและแยกทิ้งลงในถังรอง องค์กรชุมชนวิถีพุทธ : ๕๓๒ จึงจัดทำโครงการเยาวชนจิตอาสาพัฒนาศักยภาพพื้นที่และวิถีชุมชน เพื่อส่งเสริมการลดปริมาณขยะ การทิ้ง การคัดแยกขยะและการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีโดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้เยาวชนใน 5 ชุมชน (นาม่วง นากัน บ้านโหนด ระไมล์ พรุจา) มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ การคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี รวมทั้งขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง จากการที่เยาวชนนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติคัดแยกขยะจากต้นทาง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

1 เพื่อให้เยาวชนใน 5 ชุมชน (นาม่วง นากัน บ้านโหนด ระไมล์ พรุจา) มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
2 เพื่อให้เยาวชนใน 5 ชุมชน (นาม่วง นากัน บ้านโหนด ระไมล์ พรุจา) มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่หรือนำไปจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ 3 เพื่อให้ชุมชนบริหารจัดการขยะด้วยตนเอง 4 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน 4.5 เพื่อให้มีแนวทางในการสร้างเครือข่ายการบริหารจัดการขยะอย่างครบวงจรใน 5 ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานโครงการ
  2. อบรมการบันทึกข้อมูลโครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานโครงการ

วันที่ 29 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า
  • จัดประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมวางแผนการดำเนินงาน พุูดคุย หารือ การดำเนิน กลุ่มเยาวชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย และแนวการดำเนินขั้นตอนต่อไป ซึ่งจากการประชุมรือกับคณะกรรมการดำเนินงานดังกล่าว ทำให้คณะกรรมการทั้งหมดทุกท่่านได้ทราบถึงวิธีดำเนินการ กลุ่มเป้าหมายการดำเนินการ กิจกรรมโดยสรุปทั้งโครงการให้คณะกรรมทราบถึงรายละเอียด อีกทั้งแจ้งรายละเอียดงงบประมาณและค่าใช้จ่าย

 

15 15

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1 เพื่อให้เยาวชนใน 5 ชุมชน (นาม่วง นากัน บ้านโหนด ระไมล์ พรุจา) มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ 2 เพื่อให้เยาวชนใน 5 ชุมชน (นาม่วง นากัน บ้านโหนด ระไมล์ พรุจา) มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่หรือนำไปจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ 3 เพื่อให้ชุมชนบริหารจัดการขยะด้วยตนเอง 4 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน 4.5 เพื่อให้มีแนวทางในการสร้างเครือข่ายการบริหารจัดการขยะอย่างครบวงจรใน 5 ชุมชน

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ (2) อบรมการบันทึกข้อมูลโครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เยาวชนจิตอาสาพัฒนาศักยภาพพื้นที่และวิถีชุมชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชิต กิจจะเสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด