directions_run

ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการเรียนรู้แก่สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสาและประชาชนทั่วไป ต.เปียน อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการเรียนรู้แก่สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสาและประชาชนทั่วไป ต.เปียน อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา ”

ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ร.ต.ท.เจษฎาวุธ เพ็งลาย

ชื่อโครงการ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการเรียนรู้แก่สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสาและประชาชนทั่วไป ต.เปียน อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา

ที่อยู่ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการเรียนรู้แก่สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสาและประชาชนทั่วไป ต.เปียน อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการเรียนรู้แก่สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสาและประชาชนทั่วไป ต.เปียน อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการเรียนรู้แก่สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสาและประชาชนทั่วไป ต.เปียน อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,000.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 454 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากในปัจจุบันพื้นที่อำเภอสะบ้าย้อยจังหวัดสงขลาสภาวะทางด้านเศรษฐกิจในปัจจุบันนี้ราคายางตกต่ำ ค่าปุ๋ยแพง จึงหาแนวทางในการช่วยเหลือประชาชนที่สนใจจะร่วมกันทำกิจกรรมที่สามารถลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ดังนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยยึดหลักยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแกนกลางในการสร้างความเข้าใจ เพื่อหาสมาชิกมาร่วมทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในรูปแบบของพหุวัฒนธรรม โดยการทำกิจกรรมที่ประชาชนทั้งไทยพุทธ และไทยมุสลิมมาทำกิจกรรมร่วมกัน และเกิดประโยชน์ ทั้งตนเอง ชุมชน สามารถขยายเครือข่ายได้ เช่น การทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว ซึ่งสามารถใช้กับยางพารา การปลูกพืชผัก การใช้กับไม้ผลต่างๆได้อีกด้วย ซึ่งได้ดำเนินการทดลองใช้ และการอบรมจะแนะนำวิธีใช้ให้ด้วย การทำปุ๋ยดังกล่าวสามารถลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยราคาแพง จึงได้มารวมกลุ่มผลิตปุ๋ยใช้เอง เพื่อเป็นกลุ่มต้นแบบที่ผ่านการคัดเลือกมาจากคณะกรรมการ มีกลุ่มตำบลเปียน กลุ่มตำบลบ้านโหนด กลุ่มตำบลคูหา กลุ่มตำบลเขาแดงทั้งไทยพุทธ และไทยมุสลิม จำนวน 200 คน มาเรียนรู้แล้วสร้างเครือข่ายเพิ่มเติม ในโอกาสเดียวกันนี้ สร้างความเข้าใจ และเสริมสร้างความสามัคคีเชื่อมความสัมพันธ์ได้เป็นอย่างดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสา และประชาชนทั่วไป ตำบลเปียนอำเภอสะบ้าย้อยจังหวัดสงขลา
    ได้ยึดหลักของความพอเพียงความพอดีไม่ฟุ่มเฟือย ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
  2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และมีรายได้เสริม จากการปลูกผักสวนครัว การเพาะเชื้อเห็ด การผลิตปุ๋ยการเลี้ยงไก่ ไข่การเลี้ยงปลาร้านค้าชุมชนต้นแบบและสหกรณ์ออมทรัพย์
  3. เพื่อแก้ปัญหายางพาราที่เสื่อมโทรม ให้กลับคืนสภาพเดิม และเพิ่มปริมาณน้ำยาง
  4. เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพให้กับสมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสา และประชาชนทั่วไป ตำบลเปียนอำเภอ สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
  5. เพื่อให้สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสา และประชาชนทั่วไป ตำบลเปียนอำเภอสะบ้าย้อยจังหวัดสงขลา
    สำนึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และตระหนักถึงความห่วงใยของพระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจรับอุปกรณ์ที่ใช้ทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว
  2. อบรมให้ความรู้และสาธิตวิธีการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว
  3. อบรมให้ความรู้ สาธิตวิธีทำ และวิธีใช้
  4. อบรมให้ความรู้ แนะนำวิธีใช้
  5. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว
  6. อบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว
  7. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว
  8. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว
  9. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว
  10. เข้าเล่มทำรายงาน
  11. อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจรับอุปกรณ์ที่ใช้ทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

วันที่ 29 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสอบการส่งอุปกรณ์ตามบิล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

 

0 0

2. โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการเรียนรู้ฯ การทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

วันที่ 19 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ สาธิตการผลิตปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว และวิธีการนำไปใช้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถแก้ปัญหายางพาราที่เสื่อมโทรม และสามารถเพิ่มปริมาณน้ำยาง เพิ่มเปอร์เซ็น รักษาหน้ายาง

 

295 295

3. อบรมให้ความรู้ สาธิตวิธีทำ และวิธีใช้

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้สาธิตวิธีทำ และแนะนำวิธีใช้ปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถแก้ปัญหาหน้ายางตายให้ฟื้นได้ และเพิ่มเปอร์เซ็นน้ำยางได้จริง

 

88 88

4. อบรมให้ความรู้ แนะนำวิธีใช้

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ แนะนำวิธีการนำไปใช้ให้เกิดผลที่สุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถเพิ่มเปอร์เซ็นน้ำยาง และช่วยรักษาหน้ายางตายให้ฟื้นขึ้นได้จริง

 

88 88

5. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แนะนำวิธีการนำไปใช้กับต้นยางพาราแก่สมาชิกผู้เข้าร่วมอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถช่วยแก้ปัญหาได้ในระดับเกี่ยวกับยางพารา เช่น แก้ยางพาราหน้าตายให้ฟื้นขึ้นได้ และเพิ่มเปอร์เซ็นนำยางได้จริง

 

88 88

6. อบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

วันที่ 5 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้และสอบถามปัญหาเกี่ยวกับยางพารา ตลอดถึงแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับยางพาราได้และเชี่ยมความสัมพันธ์แบบพหุวัฒนธรรมได้เป็นอย่างดี

 

88 88

7. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

วันที่ 13 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนะนำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาวที่จะมาช่วยเหลือพี่น้องเกษตรกรชาวสวนยางพาราโดยตรง มีการสาธิตวิธีทำวิธีการนำไปใช้แก่สมาชิกผู้เข้าร่วมอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับยางพาราต้นเสื่อมโทรมได้จริงและช่วยเพิ่มเปอร์เซ็นน้ำยางอีกด้วย

 

351 351

8. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

วันที่ 27 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้และสาธิตวิธีการทำแล้วแจกให้แก่สมาชิกผู้เข้าร่วมอบรมได้นำไปใช้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถแก้ปัญหายางพาราเสื่อมโทรมได้ โดยการทาหน้ายางที่ตายแล้วเกิดเนื้อเยื้อขึ้นมาใหม่และเพิ่มเปอร์เซ็นได้จริง

 

88 88

9. เข้าเล่มทำรายงาน

วันที่ 8 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

สรุปเข้าเล่มรายงานของ เครือข่ายราษฎรอาสา อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลกิจกรรมต่างๆที่ได้ดำเนินการตามงบประมาณที่ได้รับมาเพื่อช่วยให้โครงการขับเคลื่อน

 

0 0

10. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว

วันที่ 8 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ สาธิตวิธีทำวิธีใช้แก่สมาชิกผู้เข้าร่วมอบรม เพื่อให้ได้ผลจริงๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกใช้แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงจริง เช่นหน้ายางที่ตายกลับมีเนื้อเยื่อใหม่เกิดขึ้น และเปอร์เซ็นน้ำยางเพิ่มขึ้นด้วย น้ำยางมีความเข้มข้นขึ้นด้วย

 

266 266

11. อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • บันทึกข้อมูลรายละเอียดโครงการ
  • บันทึกข้อมูลกิจกรรม
  • บันทึกข้อมูลองค์กร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายงานกิจกรรมผ่านเว๊บไซด์ จำนวน 9 กิจกรรม

 

120 120

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1. เพื่อให้สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสา และประชาชนทั่วไป ตำบลเปียนอำเภอสะบ้าย้อยจังหวัดสงขลา ได้ยึดหลักของความพอเพียงความพอดีไม่ฟุ่มเฟือย ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด 2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และมีรายได้เสริม จากการปลูกผักสวนครัว การเพาะเชื้อเห็ด การผลิตปุ๋ยการเลี้ยงไก่ ไข่การเลี้ยงปลาร้านค้าชุมชนต้นแบบและสหกรณ์ออมทรัพย์ 3. เพื่อแก้ปัญหายางพาราที่เสื่อมโทรม ให้กลับคืนสภาพเดิม และเพิ่มปริมาณน้ำยาง 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพให้กับสมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสา และประชาชนทั่วไป ตำบลเปียนอำเภอ สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน 5. เพื่อให้สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสา และประชาชนทั่วไป ตำบลเปียนอำเภอสะบ้าย้อยจังหวัดสงขลา สำนึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และตระหนักถึงความห่วงใยของพระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจรับอุปกรณ์ที่ใช้ทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว (2) อบรมให้ความรู้และสาธิตวิธีการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว (3) อบรมให้ความรู้ สาธิตวิธีทำ และวิธีใช้ (4) อบรมให้ความรู้ แนะนำวิธีใช้ (5) สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว (6) อบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว (7) สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว (8) สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว (9) สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักบัวขาว (10) เข้าเล่มทำรายงาน (11) อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการเรียนรู้แก่สมาชิกเครือข่ายราษฎรอาสาและประชาชนทั่วไป ต.เปียน อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ร.ต.ท.เจษฎาวุธ เพ็งลาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด