directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่
ภายใต้โครงการ โครงการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้
ภายใต้องค์กร Node โควิค ภาคใต้
รหัสโครงการ 651001817
วันที่อนุมัติ 1 กันยายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2565 - 31 สิงหาคม 2566
งบประมาณ 80,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ครงการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมหมาย หลานอาว์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0646760152
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ surang091034@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นายทิตอารุณ สัจจสุจริตกุล
พื้นที่ดำเนินการ บ้านร่าปู ม.1 ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2565 28 ก.พ. 2566 1 ก.ย. 2565 28 ก.พ. 2566 50,000.00
2 1 มี.ค. 2566 31 ส.ค. 2566 1 มี.ค. 2566 31 ส.ค. 2566 25,000.00
3 1 ส.ค. 2566 31 ส.ค. 2566 5,000.00
รวมงบประมาณ 80,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 มีผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ไวรัสโควิด 19
30.00
2 การรวมกลุ่มไม่เข้มแข็ง ขาดกลไกสนับสนุนที่ต่อเนื่อง
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หมู่ที่ 1 บ้านร่าปู ตั้งอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีขนาดพื้นที่ของหมู่บ้าน 11 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่สำหรับที่อยู่อาศัย 70 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร (ทำนา ทำสวน ทำไร่ ฯลฯ) 3,500 ไร่ และพื้นที่สาธารณะ 3,305 ไร่ มีอัตลักษณ์ของหมู่บ้าน คือ “ธรรมชาติเป็นผู้สร้างสรรค์ เขาร่าปูเป็นผู้เรียบเรียง ชุมชนเป็นผู้กำกับ” มีลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มลงไปสู่ทะเลอันดามันทางทิศตะวันออก มีลมมรสุมพัดผ่านตลอดปี โดยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดผ่านตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนกันยายน และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผ่านตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนมีนาคม มี 2 ฤดูกาล คือ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนพฤษภาคม และฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือนธันวาคม มีจำนวนครัวเรือน 213 ครัวเรือน จำนวนประชากรทั้งสิ้น 854 คน แยกเป็นชาย จำนวน 442 คน หญิง จำนวน 412 คน ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 98 มีประเพณีที่สำคัญ ได้แก่ ประเพณีเข้าสุนัตหมู่ ประเพณีถือศีลอด วันฮารีรายอ การแข่งขันกีฬาโซนหมู่บ้าน วันผู้สูงอายุ มีจำนวนผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป) รวมทั้งสิน 71 คน แยกเป็นชาย 31 คน หญิง 40 คน มีจำนวนคนพิการ รวมทั้งสิ้น 12 คน
การประกอบอาชีพของคนในชุมชน อาชีพหลัก ได้แก่ อาชีพทำสวน จำนวน 264 คน รองลงมามีอาชีพรับจ้าง จำนวน 162 คน อาชีพค้าขาย จำนวน 38 คน อาชีพรับราชการ จำนวน 19 คน อาชีพเสริม หรือ อาชีพรองของคนในชุมชน ได้แก่ อาชีพทำไร่ จำนวน 4 คน อาชีพเลี้ยงสัตว์ จำนวน 10 คน และอาชีพ อื่นๆ จำนวน 96 คน มีจำนวนกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ 5 กลุ่ม ได้แก่ 1 กลุ่มออมทรัพย์ จำนวนสมาชิก 123 คน มีงบประมาณ 44,830 บาท 2 กองทุนเงินล้าน จำนวนสมาชิก 123 คน มีงบประมาณ 3,200,000 บาท 3 กลุ่มแปรรูปอาหาร จำนวนสมาชิก 10 คน 4 กลุ่มสหกรณ์ปุ๋ยพัฒนาชุมชนบ้านบ้านร่าปู จำนวนสมาชิก 80 คน 5 กลุ่มสตรีทำขนม จำนวนสมาชิก 15 คน
6 กลุ่มอาชีพแม่บ้านร่าปู จำนวนสมาชิก 45 คน 7 กลุ่มกะปิบ้านร่าปู จำนวนสมาชิก 15 คน 8 กลุ่มสวนปาล์มสวัสดิการชุมชน จำนวนสมาชิก 189 คน

วิสัยทัศน์ “หมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ครบวงจร ส่งเสริมกลุ่มอาชีพ หมู่บ้านมีรายได้ อยู่อย่างพอเพียง ทุกคนมีสวัสดิการ ภารกิจมุ่งมั่น ขยายผลสู่สังคม” 1.พิทักษ์ทรัพยากรป่ารักษา 2.สร้างสวัสดิการประชาชนทุกระดับ 3.ป้องกันปรามอาชญากรรมและยาเสพติด 4.พัฒนาส่งเสริมกลุ่มทุนและงานอาชีพ 5.สร้างเครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วน 6.สร้างระบบยุติธรรมศาสนานำชีวิต การวิเคราะห์สถานการณ์ในหมู่บ้านร่าปู จุดอ่อน คือ (1) ขาดแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร (2) ขาดความรู้ทักษะในการประกอบอาชีพ (3) การประกอบอาชีพยังไม่หลากหลาย (4) ปัญหายาเสพติด (5) การลักขโมย (6) ปัญหาการเมืองการปกครอง (7) ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทำกิน จุดแข็ง คือ (1) มีพื้นที่เหมาะในการประกอบอาชีพการเกษตร (2) มีสถานที่ท่องเที่ยว (3) มีกลุ่มอาชีพ (4) มีป่าชายเลน (5) มีพื้นที่ติดทะเล (6) มีเส้นทางคมนาคมที่เป็นเส้นหลักของอำเภอเกาะลันตา
โอกาส (1) เป็นหมู่บ้านที่ให้ความสำคัญกับกิจกรรมทุกอย่างในชุมชน (2) มีความรักความสามัคคีถ้อยทีถ้อยอาศัยในชุมชน (3) เป็นชุมชนที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและปลอดอบายมุข (4) เป็นชุมชนที่ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม อุปสรรค (1) ขาดงบประมาณในการบริหารการจัดการ (2) ขาดงบประมาณในการเชื่อมต่อถนนภายในหมู่บ้านการเดินทางเข้าออก (3) บุคลากรในชุมชนยังขาดความรู้ความเข้าใจให้มีเอกภาพภายในวิถีชีวิตประชาธิปไตย (4) ค่าครองชีพสูง

  1. ด้านเศรษฐกิจ
    ครัวเรือนมีหนี้สิน รายได้ไม่พอรายจ่าย คนว่างงาน คนยากจน 4 4 4 3 15 1
  2. ด้านสังคม
    คนในชุมชนต่างคนต่างอยู่ ไม่สามัคคี ปัญหายาเสพติด ปัญหาลักขโมย ปัญหาเด็กแว้นซ์ ปัญหาครอบครัวแตกแยก เด็กไม่เชื่อฟังผู้อาวุโส ไม่มีผู้สืบทอดประเพณีวัฒนธรรมวิถีชุมชนดั้งเดิม 4 4 4 2 14 2
  3. ด้านด้านสุขภาพ พฤติกรรมการกิน คนไม่ชอบออกกำลังกาย การใช้สารเคมีทำเกษตรโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ 3 4 3 3 13 3
  4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ครัวเรือนไม่คัดแยกขยะ ทิ้งขยะไม่เป็นที่ 2 3 2 1 8 4 กลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์ (รับจัดทำขนมเบรก อาหารว่าง งานเลี้ยง ที่ประชุม ฯลฯ) ศักยภาพกลุ่ม ปัจจุบัน

- มีสมาชิกในกลุ่ม 5 คน ได้แก่ 1. นางอัน แส้หมูด 2. นางฟาตีม๊ะ ปุตสะ 3. น.ส.จันทร์จิรา เพริดพร้อม 4. น.ส.นารีรัตน์ โต๊ะเด็น 5. นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม สถานะความต้องการทางตลาด - มีความต้องการทางตลาด แต่กำลังการผลิตไม่เพียงพอ
- ตลาดที่รองรับปัจจุบัน ได้แก่ 1) ร.ร.บ้านร่าปู 500 ชิ้น/สัปดาห์ 2) ร.ร.บ้านคลองย่าหนัด 500 ชิ้น/สัปดาห์ 3) ส่งตามร้านค้าในชุมชน หมู่ที่.1,2,4 ประมาณ 1,000 ชิ้น/สัปดาห์ 4) ส่งร้านค้าที่ขายในตลาดนัด 2 วัน/สัปดาห์ ประมาณ 1,000 ชิ้น/สัปดาห์ 5) จัดทำขนมส่งส่งตามงานเลี้ยง/การประชุมฯ ฯลฯ ใน ต.เกาะกลาง และ ต.คลองยาง 6) ลูกค้าทั่วไป ทางระบบออนไลน์

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก
  1. เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและด้านการเงิน

  2. เพื่อให้เกิดกลไกสนับสนุนการสร้างงาน สร้างอาชีพ

  3. เพื่อสร้างอาชีพ เพิ่มรายได้กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบโควิด 19

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เกิดกลไกคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ

1.1. เกิดคณะทำงาน 10 คน ที่มาจาก กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนกลุ่มสมาชิก พช. อปท. ปราชญ์ชุมชน ฯลฯ และมีการกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน

1.2. มีข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของครัวเรือนกลุ่มสมาชิก (ก่อน-หลังดำเนินโครงการ)

1.3. มีแผนปฏิบัติการร่วมกันพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน

10.00
2 เกิดข้อตกลงในการขับเคลื่อนงาน สร้างงาน สร้างอาชีพ

2.1. มีกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 เข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่ม อย่างน้อย 30 คน

2.2. เกิดข้อตกลง/ระเบียบการดำเนินการของสมาชิกร่วมกัน

2.3. กลุ่มสมาชิกสามารถขับเคลื่อนงานตามแผนธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้ได้อย่างต่อเนื่อง

30.00
3 กลไกสามารถสนับสนุน การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

3.1.มีข้อมูลการผลิต การจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของสมาชิกในกลุ่ม

3.2. มีข้อมูลบันทึกรายรับ รายจ่ายของกลุ่ม และบันทึกเงินปันผลกำไร รายได้ของสมาชิกในกลุ่มทุกเดือน

3.3. มีข้อมูลบันทึกการออมเงินของสมาชิกเดือนละ 30 บาท เพื่อเป็นสวัสดิการให้กับสมาชิก

1.00
4 กลุ่มสมาชิก มีอาชีพ มีรายได้ มีเงินออม มีสวัสดิการ

4.1. ร้อยละ 80 ของสมาชิก มีรายได้ ผลกำไรอย่างต่อเนื่อง

4.2. มีภาคีเครือข่ายอย่างน้อย 3 ภาคี เข้ามาสนับสนุนต่อยอด พัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน ยกระดับกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาระบบสวัสดิการของชุมชน

26.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 10 -
ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 30 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66
1 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม(1 ก.ย. 2565-31 ส.ค. 2566) 10,500.00                        
2 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 5 ครั้ง(1 ก.ย. 2565-31 ส.ค. 2566) 6,000.00                        
3 คณะทำงานสัมภาษณ์ข้อมูลกลุ่มสมาชิกเรื่อง ความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพ เพื่อใช้วัดผลการเปลี่ยนแปลงของสมาชิก (ก่อน-หลังดำเนินโครงการ)(1 ก.ย. 2565-31 ส.ค. 2566) 2,400.00                        
4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก จำนวน 2 หลักสูตร/ครั้ง(21 ต.ค. 2565-21 ต.ค. 2565) 13,000.00                        
5 กระบวนการรวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง รวมจำนวน 10 ครั้ง(21 ต.ค. 2565-21 ต.ค. 2565) 43,000.00                        
6 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง(16 ส.ค. 2566-16 ส.ค. 2566) 5,600.00                        
รวม 80,500.00
1 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 14 10,500.00 6 10,500.80
1 ก.ย. 65 - 31 ส.ค. 66 จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ป้ายชื่อโครงการ และตรายาง 2 1,000.00 1,280.80
9 ก.ย. 65 ถอนเงินฝากเปิดบัญชี 2 500.00 500.00
1 - 2 ต.ค. 65 เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อย 2 2,000.00 2,470.00
5 - 6 พ.ย. 65 เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น เวทีอบรมความรอบรู้ทางการเงินและด้านสุขภาพ 2 2,000.00 1,880.00
4 ก.พ. 66 เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 2 1,500.00 -
15 - 16 ก.ค. 66 เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา ARE ครั้งที่ 2 2 1,500.00 3,350.00
31 ส.ค. 66 จัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 2 2,000.00 1,020.00
2 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 5 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 6,000.00 5 6,000.00
12 ต.ค. 65 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 1/5 10 1,200.00 1,200.00
2 พ.ย. 65 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 2/5 10 1,200.00 1,200.00
3 ก.พ. 66 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 3/5 10 1,200.00 1,200.00
4 มิ.ย. 66 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 4/5 10 1,200.00 1,200.00
5 ส.ค. 66 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 5/5 10 1,200.00 1,200.00
3 คณะทำงานสัมภาษณ์ข้อมูลกลุ่มสมาชิกเรื่อง ความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพ เพื่อใช้วัดผลการเปลี่ยนแปลงของสมาชิก (ก่อน-หลังดำเนินโครงการ) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 2,400.00 2 2,400.00
16 ต.ค. 65 คณะทำงานสัมภาษณ์ข้อมูลกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 1 (ก่อนดำเนินโครงการ) 30 1,200.00 1,200.00
1 ส.ค. 66 คณะทำงานสัมภาษณ์ข้อมูลกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 2 (หลังดำเนินโครงการ) 30 1,200.00 1,200.00
4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก จำนวน 2 หลักสูตร/ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 13,000.00 2 13,000.00
21 ต.ค. 65 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 1 หลักสูตร การจัดทำแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน “CBMC” 40 6,500.00 6,500.00
10 พ.ย. 65 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 2 หลักสูตร ความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ 40 6,500.00 6,500.00
5 กระบวนการรวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง รวมจำนวน 10 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 300 43,000.00 10 43,000.00
24 ต.ค. 65 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 1/10 30 4,300.00 4,300.00
24 พ.ย. 65 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 2/10 30 4,300.00 4,300.00
24 ธ.ค. 65 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 3/10 30 4,300.00 4,300.00
24 ม.ค. 66 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 4/10 30 4,300.00 4,300.00
24 ก.พ. 66 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 5/10 30 4,300.00 4,300.00
24 มี.ค. 66 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 6/10 30 4,300.00 4,300.00
24 เม.ย. 66 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 7/10 30 4,300.00 4,300.00
24 พ.ค. 66 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 8/10 30 4,300.00 4,300.00
24 มิ.ย. 66 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 9/10 30 4,300.00 4,300.00
24 ก.ค. 66 รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 10/10 30 4,300.00 4,300.00
6 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 5,600.00 1 5,600.00
16 ส.ค. 66 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ 40 5,600.00 5,600.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดกลไกคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ

  2. เกิดข้อตกลงในการขับเคลื่อนงาน สร้างงาน สร้างอาชีพ

  3. กลไกสามารถสนับสนุน การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

  4. กลุ่มสมาชิก มีอาชีพ มีรายได้ มีเงินออม มีสวัสดิการ

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2565 07:54 น.