แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ

รหัสโครงการ 55-00992 รหัสสัญญา 55-00-0715 ระยะเวลาโครงการ 20 กรกฎาคม 2555 - 19 กรกฎาคม 2556

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การเปิดเวทีให้ผู้ที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีตำบลพนางตุง ได้แถลงนโยบายในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธ์พืชและพันธ์สัตว์น้ำทั้งในระดับหมู่บ้านและตำบล  เพื่อให้คนในชุมชนได้ทราบถึงแนวคิดและแนวทางปฏิบัติของเทศบาลในอนาคตสร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนได้เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับหน่วยงานระดับตำบล ที่ชุมชนมีส่วนกำหนดแนวทางการพัฒนาตำบลและชุมชน ผ่านนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น  โดยอาศํยช่วงระยะเวลาของการหมดวาระของทีมบริหารเทศบาลตำบลพนางตุง และอยู่ในช่วงการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกฯ เชิญผู้บริหารของทุกทีมมาแถลงนโยบายในการจัดการทรัพยากรธรมชาติของชุมชนและตำบล เพื่อให้คนได้เรียนรู้และประกอบการตัดสินใจในการเลือกผู้นำ เป็นการเปิดโอกาสให้คนในชุมชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะรดับชุมชนหรือท้องถิ่น เป็นการบอกความต้องการของชุมชให้แก่ผู้ที่อาสาเข้ามาทำหน้าที่ผู้บริหารระดับตำบล ในโอกาสเดี่ยวกันก็เปิดโอกาสให้แก่ผู้สมัครฯที่จะได้มีช่องทางในการสื่อสารกับชุมชนถึงแนวคิดที่จะจัดการทรัพยากรธรมชาติหากได้รับการเลือกตั้งเข้ามาเป็นผู้บริหารฯ  เป็นการสร้างให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องการเมืองภาคพลเมือง หรือการเมืองที่ชาวบ้านมีส่วนกำหนดนโยบายท้องถิ่นเอง

บันทึกการประชุมสภาหมู่บ้าน เรื่องแนวทางการจัดการเขตอนุรักษ์พันธ์พืช สัตว์น้ำทาประดู่ทอง เมื่อ 18 พย.2555 และภาพถ่ายกิจกรรมเวทีสัญญาประชาคมผู้สมครรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลพนางตุง

ประกาศเป็นเทศบัญญัติเรื่องกำหนดเขตอนรักษ์ฯ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เขตอนุรักษ์พันธ์พืชน้ำพืชริมคลอง และเขตสงวนพันธ์สัตว์น้ำท่าประดู่ทสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับคนในชุมชนโดยการศึกษาข้อมูลระบบนิเวศของคลองเปรียบเีทียบระหว่างในอดีตและปัจจุบันเพื่อให้เกิดจิตสำนึกในการเห็นคุณค่าของระบบนิเวศของคลอง และร่วมกันกำหนดกฏกติกาในการร่วมกันดูแลและรักษาเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน การประกาศเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำเป็นป้ายทำด้วยเหล็ก ขนาด 120  X 120 เมตร มีตัวหนังสือ  ประกาศเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำท่าประดู่  ห้ามทำการประมง และจับสัตว์น้ำ อาณาเขตมีดังนี้  ทิศเหนือ  จด  แนวตลิ่ง  ทิศตะวันออก  เลยสะพาน  20 เมตร  ทิศใต้  จด  หมู่ 7 ต. ชัยบุรี  ทิศตะวันตก  จดแนวตลิ่ง  ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษ ยึดอุปกรณ์ทำการประมง  ปรับ 5,000 บาท  โดยอาสาสมัครได้นำมาปักไว้บริเวณเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำริมถนนใกล้กับหัวสะพาน  มองเห็นได้ชัดเจนสามารถจัดตั้งและจัดทำเขตอนุรกษ์พันธุ์พืชพื้นเมืองและพันธุ์สัตว์น้ำได้ตามที่กำหนดไว้จัดตั้งเขตอนุรักษ์พันธุ์พืชน้ำพืชริมคลอง พันธุ์สัตว์ป่าริมคลองและพันธุ์สัตว์น้ำโดย 1.การจัดหาพันธุ์และปลูกพืชริมน้ำและในน้ำ 5 ชนิดได้แก่ต้นคล้าย ต้นสาคู ต้นหว้า ต้นมะเดื่อ และบัวแดง 2.จัดหาและอนุบาลพันธุ์สัตว์น้ำ 3 ชนิด ได้แก่ ปลาจะระเม็ดน้ำจืด ปลาตะเพียนและปลานิลคณะทำงานได้นำทุ่นมาลอยไว้เป็นระยะเป็นที่มองเห็นอย่างชัดเจน                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                              ในการกำหนดเขตเป็นการร่วมมือกันทั้งสองฝั่งคลอง ทั้ง 2 หมู่บ้าน

ป้ายประกาศบริเวณริมคลอง ตรงสำนักสงฆ์ท่าประดู่ทอง ป้ายทำด้วยเหล็ก ขนาด 120  X 120 เมตร มีตัวหนังสือ  ประกาศเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำท่าประดู่  ห้ามทำการประมง และจับสัตว์น้ำ อาณาเขตมีดังนี้  ทิศเหนือ  จด  แนวตลิ่ง  ทิศตะวันออก  เลยสะพาน  20 เมตร  ทิศใต้  จด  หมู่ 7 ต. ชัยบุรี  ทิศตะวันตก  จดแนวตลิ่ง  ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษ ยึดอุปกรณ์ทำการประมง  ปรับ 5,000 บาท  โดยอาสาสมัครได้นำมาปักไว้บริเวณเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำริมถนนใกล้กับหัวสะพาน

การขยายผลทั้งขยายพื้นที่และขยายผลเรื่องการดูแลรักษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กลุ่มประมงอาสา ทำหน้าที่สลับปรับเปลี่ยนกันเข้าเวร ดูแลให้เป็นไปตามกฏหมู่บ้านในเขตห้ามจับสตว์น้ำบริเวณเขตสงวน

บันทึกการประชุมหมู่บ้านว่าด้วยการสมัครเป็นประมงอาสา เมื่อ 17 กพ.2556

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

วิถีเดิมของคนบ้านท่าช้างส่วนใหญ่ทำนา หาปลา เช่นชุมชนเกษตรชนบททั่วไป การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นการทำนาอินทรีย์ การจัดการคลองล้วนเกี่ยวพันกับอาหารการกิน ที่หล่อเลี้ยงชีวิตของคนที่นี่

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการลดมลพิษผลิตข้าวปลอดภัย รหัสโครงการ 53-01710

การขยายผลทั้งในการเพิ่มพื้นที่การผลิตทั้งในและนอกชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การทำนาอิืนทรีย์ครบวงจร การใช้ข้าวพันธ์พื้นเมืองที่ผลิตพันธ์ข้าว ปรับปรุงพัธ์เอง การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ การรวมกลุ่มกันเก็บเกี่ยว การผลิตข้าวกล้อง การบริหารจัดการโรงสีข้าวชุมชน การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวพื้นเมือง

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าช้าง กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ กลุ่มนาอินทรีย์บ้านท่าช้าง

การขยายผลทั้งในการเพิ่มพื้นที่การผลิตทั้งในและนอกชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ชุมชนมีแหล่งอาหารเพิ่มขึ้นจากพันธ์และสัตว์ทั้งที่ปล่อยและเข้ามาอยู่อาศัยเองตามธรรมชาติที่ดีขึ้น

คณะทำงานบ้านท่าช้าง

ร่วมกันดูแลเขตสงวนพันธ์พืชและสัตว์น้ำเพื่อเป็นแหล่งอาหารของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

กฎกติกาหมู่บ้านในการอนุรักษ์  และฟื้นฟูสภาพนิเวศคลองบางไข่ขิง  เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จัดขึ้นโดยมีเทศบาลตำบลพนางตุงมาเป็นเกียรติ และร่วมกำหนดกฎกติการ่วมกันกับชุมชน  ณ สำนักสงฆ์ท่าประดู่ทอง  โดยมีมติว่า  ห้ามจับสัตว์น้ำและใช้เครื่องมือหาปลาทุกชนิด  หากมีการฝ่าฝืนหรือจับปลาในเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ  มีโทษปรับ 5,000 บาท และยึดอุปกรณ์เครื่องมือทุกชนิด  ซึ่งเป็นกฎกติการ่วมกันชุมชนกับเทศบาลตำบลพนางตุง  และได้ติดป้ายกฎกติกาประกาศไว้ที่หัวสะพานที่เห็นได้ชัดเจน
ประกาศเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำท่าประดู่                                                                                      ห้ามทำการประมง และจับสัตว์น้ำ                                                                                                                        อาณาเขตมีดังนี้                                                                                                                                ทิศเหนือ  จด  แนวตลิ่ง                                                                                                                  ทิศตะวันออก  เลยสะพาน  20 เมตร                                                                                                ทิศใต้  จด  หมู่ 7 ต. ชัยบุรี                                                                                                              ทิศตะวันตก  จดแนวตลิ่ง
14 ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษ ยึดอุปกรณ์ทำการประมง                                                                                                  ปรับ 5,000 บาท
โดยอาสาสมัครได้นำป้ายมาปักไว้บริเวณเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำริมถนนใกล้กับหัวสะพาน

บันทึกการประชุมหมู่บ้านเมื่อวันที่ 17 กพ.2556

การร่วมกันดูแลเขตอนุรักษ์ให้เป็นไปตามกฏกติกาหมู่บ้าน การผลักดันให้ออกเป็นเทศบัญญัติ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

1.เวทีสัญญาประชาคม ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้บริหารเทศบาลตำบลพนางตุง  ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ทันต่อสถานการณ์การเลือกตั้งผู้บริหารเทศบาลตำบลพนางตุง  ซึ่งได้ประสานงานผู้สมัคร ทั้งหมด 3 ทีม มาร่วมแถลงนโยบายในการบริหาร  ซึ่งมาเข้าร่วมแถลงนโยบายด้วยกัน 2 ทีม ในเวทีแถลงนโยบายทั้งสองทีมทำให้ชุมชนได้รับรู้นโยบายและการบริหารจัดการของแต่ละทีมเป็นการเพิ่มความรู้ให้กับชุมชนอีกทางหนึ่ง  การแถลงนโยบายทั้ง สอง ทีม ก็มีความสอดคล้องกับโครงการเป็นอย่างดี และยินดีที่จะร่วมทำกิจกรรมกับชุมชน  ผู้เข้าร่วม ชุมชนบ้านท่าช้าง  100  คน. 2. บทเรียนร่วมกันในการดูแลพืชพันธ์ไม้ที่ต้องมีการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยกำหนดบุคลลที่ต้้องผลัดเปลี่ยนกันดูแล 3.ให้มีประมงอาสาเพื่อผลัดเปลี่ยนเวรยามในการดูแลเขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำ 4. ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทั้งในชุมชนเองอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งต้องมีวาระประชุมร่วมระหว่างคนต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำเพื่อแลกเปล่ยนเรียนรู้และติดตามผลการดำเนินดูแลสายน้ำร่วมกัน

1.รายงาน ส.1 เวทีสัญญาประชาคมผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้บริหารเทศบาลตำบลพนางตุง เมื่อวันที่ 18 พย. 2555 2.คณะทำงานโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลองฯ 3.คณะทำงานประมงอาสาบ้านท่าช้าง 4.สมาคมคนรักษ์ลุ่มน้ำจังหวัดพัทลุง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เชื่อมร้อยการทำงานร่วมกับเครือข่ายสายน้ำคลองท่าแนะแกนนำอาสาสมัครป่าต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ จำนวน40คน ได้ร่วมกันเปลี่ยนการดำเนินงานและร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องของการบริหารจัดการเครือข่ายจะต้องมีคณะกรรมการที่ชัดเจน มีระบบการประชาสัมพันธุ์การดำเนินงานที่ทันสมัย (มีความภาคภมิใจที่ทางคณะทำงานได้รายงานผลงานโครงการผ่านทางอินเตอร์เน็ต)เกิดการเชื่อมร้อยคนต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำด้วยการตั้งคณะทำงานร่วมกัน กำหนดทิศทางเป้าหมายร่วม และกำหนดสิ่งที่แต่ละพื้นที่ต้องกลับไปดำเนินงานเช่นการรณรงค์ลด ละ เลิกการใช้สารเคมีในการเกษตร เลิกการประมงแบบล้างผลาญ การจัดทำข้อมูลสภาพนิเวศคลองฯลฯ และร่วมกันผลักดันในการรวมตัวกันในนาม สมาคมคนรักลุ่มน้ำพัทลุง ในอนาคต

คณะทำงานเครือข่ายคนรักลุ่มน้ำพัทลุง

ประสานการดำเนินงานกันตามแผนที่วางไว้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ปัญหาสภาพระบบนิเวศคลองบางไข่ขิง การเก็บข้อมูลพันธ์สัตว์น้ำที่สูญพันธ์ หายาก การถูกทำลายของป่าริมคลอง เปรียบเทียบอดีตกับปัจจุบัน การทำเวทีประชาคมเพื่อรับรองและจัดลำดับความสำคัญ การจัดทำแผนงานตามโครงการ การนำเสนอโครงการต่อ สสส. กาปฏิบัติงานตามโครงการ(รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ)การรายงานผลทางเว็บไซส์ การติดตามผ่ากลไกพี่เลี้ยง การสรุปผลการดำเนินงาน การจัดทำรายงานปิดโครงการ

โครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ ข้อตกลง 55-00-0715 รหัส 55-00992

ขยายผลต่อเนื่องในประเด็น โรงเรียนชาวนาบ้านท่าช้าง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

9 สิงหาคม 2556เลี้ยงน้ำชาเพื่อจัดหาทุนสมทบการดำเนินงานตามโครงการคนในหมู่บ้าน80คน 2.คนนอกหมู่บ้าน7คน 3.ได้รับเงินจากการสมทบทุนทั้งหมด 8660บาท

คณะทำงานโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลองฯ

ควรมีการจัดตั้งกองทุนสาธารณะเพื่อไว้ใช้จ่ายในกรณ๊ท่มีความจำเป็น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการขับเคลื่อนงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทั้งงานเดิมในการทำนาอินทรีย์ก็มีการขยายผลทั้งภายในและนอกชุมชนร่วมกับภาคีพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของโครงการนี้มีการตั้งทีมงานเพื่อรับผิดชอบดูแลต้นไม้ที่ปลูกไว้ อีกทั้งมีทีมประมงอาสาคอยดูแลเขตสงวนพันธ์สัตว์น้ำ

คณะทำงานโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลองฯ

ดำเนินการตามแผนที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เริ่มตั้งแต่การจัดทำโครงการทีมีการระดมสมองค้นหาสิ่งที่มีคุณค่าอยู่ในอดีตของระบบนิเวศคลองบางไข่ขิง ทั้งสัตว์น้ำ พืชน้ำ พืชริมคลอง และนำเอาความรู้นั้นมาวิเคราะห์ร่วมกับเวทีประชาคมเพื่อตัดสินใจเลือกประเด็นมาดำเนินการแก้ไขปัญหา มีกิจกรรมการสำรวจพันธ์พืช สัตว์น้ำ และป่าสาคูและนำเอาความรู้นั้นมาคืนข้อมูลแก่ชุมชนเพื่อสร้างความตระหนักในคุณค่า และนำไปสู่ความร่วมมือกันในการดำเนินกิจกรรมตามโรงการนี้

คณะทำงานโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลองฯ

ใช้กระบวนการนี้ในประเด็นอื่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

การใช้ข้อมูลพันธ์ืพืช สตว์น้ำที่สูญพันธ์หรือหายาก มาเป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจของเวทีประชาคมของหมู่บ้าน เพื่อเลือกประเด็นในการจัดทำโครงการ

โครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ ข้อตกลง 55-00-0715 รหัส 55-00992

ใช้ทักษะนี้ในการแก้ไขปัญหาอื่นของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

คณะทำงานดูแลต้นไม้และทีมประมงอาสากล้าแนะนำตนเองในเวทีสาธารณะของหมู่บ้านและในกิจกรรมสาธารณะอื่นๆ

คณะทำงานบ้านท่าช้าง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การร่วมงานสาธารณะอื่นๆทั้งในและนอกชุมชนอย่างสม่ำเสนอ ทั้งของแกนนำและคนในชุมชนที่เข้าร่วมขับเคลื่อนโครงการนี้เป็นเครื่องแสดงให้เห็นถึงการจัดการตนเองอย่างสมดุลของคนในพื้นที่นี้

คะทำงานบ้านท่าช้าง/กลุ่มแลองค์กรอื่นในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

วิถีเดิมของคนบ้านท่าช้างส่วนใหญ่ทำนา หาปลา เช่นชุมชนเกษตรชนบททั่วไป การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นการทำนาอินทรีย์ การจัดการคลองล้วนเกี่ยวพันกับอาหารการกิน ที่หล่อเลี้ยงชีวิตของคนที่นี่ การทำนาอิืนทรีย์ครบวงจร การใช้ข้าวพันธ์พื้นเมืองที่ผลิตพันธ์ข้าว ปรับปรุงพัธ์เอง การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ การรวมกลุ่มกันเก็บเกี่ยว การผลิตข้าวกล้อง การบริหารจัดการโรงสีข้าวชุมชน การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวพื้นเมือง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

การลดละเลิกการใช้สารเคมีในการเกษตรและหันมาทำและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ เป็นการเอื้ออาทรต่อทั้งสิ่งมีชีวิตอื่นในห่วงโซ่อาหาร ฟื้นฟูดิน น้ำ อาหารปลอดภัยทั้งต่อคนทำและคนกิน การมีโรงสีชุมชนก็เพื่อผลิตข้าวที่ปลอดภัยเผื่อแผ่แก่คนในชุมชนและนอกชุมชนฯ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การใช้ข้อมูล ข้อเท็จจริงที่ร่วมกันค้นหามาเป็นเครื่องมือประกอบในการตัดสินใจทั้งของวงเล็กระดับคะทำงาน หรือการนำเสนอข้อมูลต่อเวทีประชุมหมู่บ้าน ประกอบในการการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจในทางเลือก เป็นการใช้ปัญญาที่เกิดขึ้นมากกว่าการใช้ปรากฏการณ์และความรู้สึกในการดำเินินงานของชุมชน

คณะทำงานบ้านท่าช้าง

ใช้วิธนี้ในกาทำงานในปรเด็นอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ