task_alt

โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

ชุมชน บ้านอ่าวลึกน้อย หมู่ที่ 3 ตำบลอ่าวลึกน้อย อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ รหัสไปรษณีย์ 81110

รหัสโครงการ 55-01783 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0945

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน มกราคม 2556 ถึงเดือน ตุลาคม 2556

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามการทำรายงานโครงการเพื่อขอเบิกงวด 2

วันที่ 14 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจการทำรายงานกิจกรรมโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

รายงานผลการดำเนินงานของโครงการให้พี่เลี้ยงทราบ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

นัดพื้นที่ดำเนินโครงการเตรียมข้อมูลเอกสาร  เอกสารการเงิน เพื่อจัดทำรายงานรับงวดที่ 2

กิจกรรมที่ทำจริง

รายงานโครงการให้พี่เลี้ยงทราบ และขอคำปรึกษาในการดำเนินงานครั้งต่อไป

 

0 0

2. ติดตามการทำรายงานโครงการเพื่อขอเบิกงวด 2 (ครั้งที่ 2)

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจการทำรายงานกิจกรรมโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การดำเนินงานในการรายงานกิจกรรมโครงการสามารถรายงานส่ง สสส.ได้ตามเป้าหมาย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

นัดหมายผู้รับผิดชอบโครงการมาทำความเข้าใจในการรายงานการดำเนินกิจกรรมเพื่อรับงวด ที่ 2

กิจกรรมที่ทำจริง

แจ้งผู้รับผิดชอบโครงการต้องนำผู้ที่มีความชำนานด้านคอมพิวย์เตอร์มาด้วเพื่อพิมย์รายงาน

 

0 0

3. จัดอบรมและสาธิต การทำปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร โดยกระบวนการย่อยสลายของใส้เดือนดิน

วันที่ 6 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  • ให้ความสำคัญกับเศษ วัสดุเหลือใช้ในด้านคุณค่า คุณภาพ
    • เห็นคุณประโยชน์ของใส้เดือนดินที่มีผลต่อการเกษตร
    • ได้รู้และเห็นขั้นตอนของการ เปลี่ยนแปลงในกระบวนการที่ เอื้อประโยชน์ต่อกัน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คิดเป็น  สังเกตจากการเลือก สถานที่ไม่โดนแดดมาก
  และไม่เลือกที่ลุ่มที่ประเมินว่าน้ำจะท่วมขัง   รู้ขั้นตอนว่าต้องทำอย่างไร  ให้ความสนใจ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • ให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของใส้เดือนดิน
  • ให้เรียนรู้และสาธิตเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์ในแปลงเกษตรโดยกระบวนการย่อยสลายเศษวัสดุเหลือใช้จากวัสดุเหลือใช้จากวัฎจักรใส้เดือนดินในแปลงตัวอย่าง

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดอบรมเกษตรกรเป้าหมาย  75 คน เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ของกิจกรรมโดยเชิญ นักวิชาการเกษตรจาก กรมส่งเสริมการเกษตร และนักวิชาการจากสำนักงานพัฒนาที่ดิน จังหวัดกระบี่ มาเป็น วิทยากร  ในการให้ความรู้ และสาธิต วิธีในการทำปุ๋ยอินทรีย์ฯ โดยศึกษาข้อมูลจาก  power point จากนั้นจึงรวบรวมวัสดุเหลือใช้ที่เตรียมไว้ซึ่งผ่านกระบวนการหมักแล้ว ลงแปลงตัวอย่างประมาณ 2-3 ต้น ทดลองทำ และเปรียบเทียบให้เห็นถึงกระบวนการย่อยสลายจากที่ทางผู้ดำเนินงานโครงการได้ทำไว้ก่อนหน้านี้แล้ว อย่างชัดเจนในแปลงตัวอย่าง และทำการคัดเลือก กลุ่มเป้าหมาย นำร่อง 10 แปลงเพื่อดำเนินการเป็นตัวอย่างโดยการจับฉลาก
- ประชาสัมพันธ์ครัวเรือน ชุมชน ตลอดจนหน่วยงานภาคีอื่นๆได้เข้าใจเพื่อให้เห็นความสำคัญ และได้รู้จักเว็บไซด์ กรมส่งเสริมการเกษตร   - ที่ประชุมสภาเกษตร   - ที่ประชุม สำนักงานธนาคารเพื่อการเกษตร ในการจัดทำแผนพัฒนา

 

0 0

4. ส่งเสริมการทำสวนปาล์มแบบ ปลอดภัย

วันที่ 8 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. ส่งเสริม การทำสวนปาล์ม แบบปลอดภัย
  2. เห็นค่าของวัสดุเหลือใช้
  3. การช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชน/โรงเรียน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ความสนใจในการปฏิบัติ ได้รับความร่มมือดีมากและบางรายคาดหวังจะใช้งบประมาณและเทคนิคส่วนตัว ส่วนตัวขยายให้เต็มพื้นที่แปลงของตัวเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ส่งเสริมการทำสวนปาล์มแบบปลอดภัย โดยวิธีการส่งเสริมการทำปุ๋ยอินทรีย์ จากวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตร ในสวนปาล์ม เช่น ทางปาล์ม  มูลสัตว์  โดยกระบวนการของแสง (ผลัดเปลี่ยนกันไป ช่วยกันทำในสวนปาล์มน้ำมันของสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย)

กิจกรรมที่ทำจริง

เนื่องจากในกิจกรรมนี้มีกระบวนการสืบเนื่องมาจากกิจกรรมก่อนนี้โดยสิ้นเชิง จำเป็นต้องต่อเนื่องในกระบวนการของกิจกรรม คัดเลือก โดยการจับฉลาก 10 แปลง ทำการขนวัสดุที่ผ่านกระบวนการหมักแล้วที่ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตร สู่แปลงเกษตรกร (10แปลง)ใช้เวลา10วัน โดย หมุนเวียนเปลี่ยนกันไปช่วยกัน ตามที่ได้ฝึกอบรมและดูการสาธิตมากำหนดระยะเวลาตั่งแต่ 8-18 มีนาคม แล้วเสร็จ   วันที่ 20 มีนาคม เตรียมแปลง กลุ่มเป้าหมายสองกลุ่มยุวเกษตรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย  สมาชิก 30คน ไถดิน, เตรียมดินแล้วเสร็จ รอสมาชิกในโรงเรียนเปิดเทอม ดำเนินการได้เต็มรูปแบบทั้งระบบ

ประชาสัมพันธ์ผ่านหน่วยงานภาคี และ ผู้มาศึกษาดูงาน จาก หนองแขม  ก.ทม จำนวน 205 คน เว็บไซค์ กรมส่งเสริมการเกษตร ศูนย์บริการ

เสียงตามสายชุมชนและโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย
สถานีวิทยุ ส.วท กระบี่

 

0 0

5. อบรมและสาธิตการตรวจสอบคุณภาพดิน และลงพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันของกลุ่มเป้าหมายเพื่อทำการจัดเก็บดิน ในส่วนเพื่อส่งตรวจสอบคุณภาพกับทางเกษตรอำเภอ

วันที่ 20 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. เห็นความสำคัญของดิน กับการเจริญเติบโตของพืช เพื่อการลดต้นทุน / ปลอดภัย
  2. เห็นความสำคัญในการตรวจวิเคราะห์ดิน
  3. ทำได้โดยตนเอง แก้ไขปัญหา ประสานหน่วยงานรับผิดชอบและช่วยเหลือได้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรกรเริ่มเข้าใจและเห็นความต่างในเรื่องของต้นทุน ในเบื้องต้นจากการผลิตที่ผ่านมาเห็นโทษ กับตนเองหากใช้ไปเป็นเวลานานกับสารเคมีทุกชนิด     เห็นวิวัฒนาการในการใช้เครื่องมือ สมัยใหม่ในเบื้องต้น และระยะยาว ด้วยภาวะเศรษฐกิจที่ฝืดเคือง อยากจะประหยัด ให้ความร่วมมือดี ในการเก็บตัวอย่างดิน มาเพื่อส่งตรวจ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-  อบรมและสาธิตการขุดดินเพื่อเก็บตัวอย่างดินไปวิเคราะห์ -  ลงพื้นที่ช่วยกันขุดดินจากสวนปาล์มกลุ่มเกษตรเป้าหมาย -  รวบรวมส่ง ส.พ.ด   นำไปตรวจสอบ

กิจกรรมที่ทำจริง

อบรมสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 75คน โดย วิทยากรนักวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร  , นักวิชาการจากสำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดกระบี่ ให้ความรู้เรื่องดินและคุณภาพดินที่เหมาะสมกับการเติบโตของปาล์มน้ำมัน และเห็นความต่างของการใช้ปุ๋ยเคมี กับปุ๋ยอินทรีย์ ตลอดจน พิษภัยสะสม จากสารเคมีทุกชนิดที่ปรากฏอยู่ในดินเก็บผลที่เกิดสะสมในร่างกาย จากภาพประกอบใน ตลอดจนสาธิตวิธีการเก็บตัวอย่างดินเพื่อนำไปวิเคราะห์ โดยทฤษฏีและปฏิบัติในแปลง  ตัวอย่าง และมอบหมาย ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายกลับไปขุดดินในแปลงของเกษตรกรมาส่งที่ศูนย์บริการฯ เพื่อรวบรวมส่งให้กับเกษตรอำเภอ ส่งต่อ สำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดกระบี่ส่งตรวจต่อไป

ประชาสัมพันธ์ ชุมชน และสมาชิกเป้าหมาย เสียงตามสาย เว็บไซค์ : กรมส่งเสริม ศ.บกต ส.วท.11

 

0 0

6. ตรวจเอกสารและการติดตามโครงการ

วันที่ 7 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อรับแนวทางการปฎิบัติงานโครงการได้ถูกต้อง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

บรรลุตามวัตถุประสงค็

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ตรวจเอกสารการดำเนินโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.

 

0 0

7. กิจกรรมสืบเนื่องจากกิจกรรมที่11 เมื่อวันที่20 มีนาคม 2556 กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย จัดกิจกรรมเมื่อ 16พ.ค. 56 (หลังจากโรงเรียนเปิดภาคเรียน 1 สัปดาห์)

วันที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. เห็นค่าของวัสดุเหลือใช้
  2. การช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชน/โรงเรียน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-นักเรียนปฏิบัติได้ -คิดเป็นทำเป็น -นักเรียนรู้จักช่วยเหลือกันปรึกษาหารือกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย จัดกิจกรรมเมื่อ 16พ.ค. 56 (หลังจากโรงเรียนเปิดภาคเรียน 1 สัปดาห์)

กิจกรรมที่ทำจริง


อบรมและสาธิตการทำปุ๋ยมักโดยวิธีปฏิบัติโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน แบ่งพื้นที่ในแปลงเกษตรออกเป็น 5 ส่วน/ ทุกกลุ่มต้องมีกองปุ๋ยมักเพื่อเป็นปุ๋ยในการใช้ปลูกผัก ในแปลงเกษตรของโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย ประชาสัมพันธ์โครงการ

ให้ผู้ปกครองได้ทราบโดยใช้นักเรียนละประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย

 

0 0

8. ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อให้ความรู้และเผยแพร่การทำงานโครงการและการหนุนเสริมครัวเรือน

วันที่ 14 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

1.ให้ความสำคัญกับการตรวจเช็ดดีเพื่อลดต้นทุนการผลิต 2.คุณภาพดินดี ผลผลิตดีเห็นผลจากการปฏิบัติ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรกรเป้าหมายเริ่มเห็นความสำคัญ สังเกตจากการดิ้นรนเพื่อที่จะส่งตัวอย่างดินและเรียกร้องให้ลดระยะเวลาการฟังผลให้เร็วที่สุดเพื่อที่จะจัดการรายการผลิตได้เร็ว

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

แจ้งเกษตรกลุ่มเป้าหมาย 75 ราย ให้ขุดดินในแปลงของตัวเองมาตรวจคุณภาพดินเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลง โดยมีแปลงตัวอย่าง 10 แปลงเป้าหมายเป็นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงใช้เวลา2วันในการรวบรวมตัวอย่างดินเพื่อส่งต่อให้สำนักพัฒนาที่ดินจังหวัดกระบี่ตรวจสอบคุณภาพดินในเบื้องต้น

กิจกรรมที่ทำจริง

แจ้งเกษตรกลุ่มเป้าหมาย 75 ราย ให้ขุดดินในแปลงของตัวเองมาตรวจคุณภาพดินเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลง โดยมีแปลงตัวอย่าง 10 แปลงเป้าหมายเป็นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงใช้เวลา2วันในการรวบรวมตัวอย่างดินเพื่อส่งต่อให้สำนักพัฒนาที่ดินจังหวัดกระบี่ตรวจสอบคุณภาพดินในเบื้องต้น โดยปฏิบัติตามหลักการและวิธีการที่ฝึกอบรมมาแล้วก่อนหน้านี้เกี่ยวกับตัวอย่างดินเพื่อส่งตรวจสอบคุณภาพ

 

0 0

9. ตรวจเอกสารและการติดตามการดำเนินงานโดย สจรส.

วันที่ 24 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อการปฏิบัติงานโครงการที่ถูกต้อง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

บรรลุตามเป้าหมาย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ตรวจเอกสารการดำเนินโครงการและความก้าวหน้าของโครงการตามระยะของการดำเนินการทั้งหมด

กิจกรรมที่ทำจริง

ตรวจเอกสารโครงการและชี้แจงการปฏิบัติงานโครงการ จาก สจรส. ม.อ.

 

0 0

10. เวทีนำเสนอตรวจสอบคุณภาพดินผลการตรวจสอบคุณภาพดินและวิเคราะห์แนวทางแก้ไข

วันที่ 28 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

1 เกษตรกรได้เห็นการเปลี่ยนแปลงในลักษณะคุณภาพดิน 2 เห็นความต่างของเกษตรอินทรีย์กับเกษตรเคมีสืบเนื่องไปถึงต้นทุนและพิษของสารเคมี ทั้งระบบหากใช้ไปนานๆ ทางรอดสำหรับอนาคต แทบไม่มี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

หลายท่านเข้าใจ หลายท่านคำนึงถึงแรงงานและเวลาในการปฏิบัติเป็นหลักเพราะพื้นที่มาก ไม่สามารถปฏิบัติได้ในเวลาเดียวแปลงเกษตร โรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย ผลตรวจเช็คคุณภาพดิน ดีมากเหมาะแก่การปลูกผักและยุวเกษตรกรสนใจมาก และปฏิบัติได้ ทุกกลุ่มมีกองปุ๋ยของตัวเองงและไม่ใช้เคมีทุกชนิด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดเวทีขนานย่อมในลักษณะประชุม  เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเชิญวิทยากรจากสำนักพัฒนาที่ดิน จ.กระบี่ และเกษตรอำเภออ่าวลึกมาเป็นวิยากร

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดเวทีขนานย่อมในลักษณะประชุม  เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเชิญวิทยากรจากสำนักพัฒนาที่ดิน จ.กระบี่ และเกษตรอำเภออ่าวลึกมาเป็นวิยากรให้กับเกษตรกรปาล์มน้ำมัน ต.อ่าวลึกน้อย 75 คน แจ้งผลการตรวจสอบคุณภาพดินและเปรียบเทียบให้เห็นถึงคุณลักษณะที่ต่าง –ทั้งคุณภาพดิน -ต้นทุนการผลิต ข้อดีของการใช้เกษตรอินทรีย์ 1 ดินมีความโปรง 2 ระยะเวลาการปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืชยาวกว่า 3 ตอบสนองปุ๋ยเคมีจากการกำหนดใช้ดีกว่า ตามความเป็นจริง 4 ลดต้นทุนการผลิตได้ถึง25% 5 ดินมีจุลินทรีย์ที่ควบคุมระบบต่างๆในรากและต้นพืชมีผลต่อการให้ผลผลิต ข้อเสีย 1 ต้องเตรียมการเสียเวลาสำหรับทุนนิยม เวลาในปัจจุบันรีบเร่งตลอดแรงงานมีราคา/วันสูง 2 ธาตุอาหารทดแทนตามต้องการไม่ครบร้อยเปอร์เซ็นต์กับวัตถุดิบชีวภาพ(มูลสัตว์) ข้อดีของเคมี 1 โครงสร้างดินเสีย 2 ต้นทุน1 กระสอบสูง 3 มีพิษค้างในผลผลิต เช่นยาฆ่าหญ้าและปุ๋ยเคมีบางตัว 4 จุลินทรีย์และสัตว์หน้าดินโดยเฉพาะไส้เดือนดินจะตายหมดเทื่อใช้ไปนานๆ 5 ผิวดินไม่อุ้มน้ำรักษาความชื้นในยามวิกฤตหรือภาวะแล้งปริมานน้ำน้อย ไม่ได้ผลการตรวจคุณภาพดีในแปลงตัวอย่าง 10 แปลง ไม่เกิดความแตกต่างมากนักเมื่อรวมทั้งพื้นที่ แต่พื้นที่หรือจดจำเพราะเปรียบเทียบที่ใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากการใช้วัสดุ หรือใช้ในแปลงดีมาก PH ดินอยู่ที่6.5 เหมาะแก่การเจริญเติบโตให้ผลผลิตของปาล์ม N.O.62P.O.60K.O.44C.15.51. อินทรีย์ วัตถุ 29.93 ความชื้น 37.06 สรุปเป็นที่น่าพอใจระดับหนึ่งหากแม้ได้ทำเต็มพื้นที่จะดีมาก แต่ต้นทุนสูง ผลจากการวิเคราะห์ตรวจสอบดินในแปลงเกษตรของยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อยจากการตรวจสอบคุณภาพดิน PHดิน6.5 NO.72 P.O.72KO.44C16.51ซากพืช7.34อินทรีย์ วัตถุ29.93 ความชื้น38.64 นับว่าดีมากสำหรับการปลูกผักใบ/ผักสวนครัวและทุกกลุ่มมีกองปุ๋ยหมักเป็นของตัวเองทั้ง5 กลุ่ม หลีกเลี้ยงการใช้สารเคมีทุกชนิด

ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย ได้ให้ความสำคัญตลอดจนครัวเรือน โรงเรียน ชุมชน หน่วยงาน อื่นๆ ได้สำเร็จ -ที่ประชุมสภาเกษตร -ที่ประชุม กม. ศาลาประชาคม อ.อ่าวลึก อ.เกาะลันตา อ.คลองท่อม โดยกรมส่งเสริมการเกษตรเสียงตามสาย อ.บ.ต. อ่าวลึกน้อย

 

0 0

11. 5. เวทีประเมินผลการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพดินและคุณภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชน

วันที่ 8 กรกฎาคม 2556 เวลา 09.00 -16 .00 น น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  • สร้างจิตสำนึกร่วมระหว่างส่วนตัวกับส่วนรวม
  • เห็นถึงพิษภัยแอบแฝงที่ไม่เกิดผลในทันใด จากสารเคมีสะสมในดินที่ส่งผลต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทั้งทางตรงและทางอ้อม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

หลายคนเข้าใจจากการที่สังเกตการตั้งคำถามแต่หลายคนยังยึดติดกับความง่ายและคล่องตลอดถึงตัวเงินว่าจะทำอะไรสักอย่างต้องใช้เงินทั้งนั้นและต้องให้เงินสนับสนุนให้มาก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เปรียบเทียบคุณภาพดินจากแหล่งที่ใช้สารเคมีและใช้วัฏจักรไส้เดือนดิน

กิจกรรมที่ทำจริง

ได้ปรึกษาและเชิญกองทัพเรือภาคที่ 3 จังหวัดภูเก็ต ปฏิบัติงานในพื้นที่ จังหวัดกระบี่ ร่วมเป็นวิทยาการและสนับสนุนการจัดเวทีสัมมนา โดยหัวหน้าฝ่ายฝึกอบรมกองทัพเรือภาคที่3จังหวัดภูเก็ต  ณ โรงแรมเมาท์เทนรีสอร์ท  อำเ ภอ อ่าลึก มีสมาชิกกลุ่มเป้าหมายของโครงการผละผู้นำชุมชน ตำบลอ่าวลึกน้อย เข้าร่วม 95 คน


โครงการชีวินทรีย์จ่ายเฉพาะค่าอาหารกล่องอิสลามและค่ายานพาหนะ คนละ 50 บาท  ที่เหลือกองทัพภาคที่ 3 รับผิดชอบและทางกองทัพภาคที่ 3 ได้มอบเต้นให้มัสยิดบ้านอ่าวลึกน้อย 1 หลังและชมว่าเป็นโครงการที่ดี ของ ส.ส.ส. และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งจะมีประโยชน์มากกับโลกอนาคตเป็นเทคโนโลยีที่มีผลโดยตรงกับประเทศไทยซึ่งเป็นฐานของเกษตรกรรม

เนื้อหาการบรรยายอ้างถึง -สภาพแวดล้อมที่ถูกทำลายโดยมนุษย์ที่ทำให้เกิด สึนามิ -ปัจจัยจาก โรงงานอุตสหกรรมที่ปล่อยสารเคมีลงในทะเลมีผลกับสภาพแวดล้อม -ขยะและการผลิตภาคเกษตรที่มีผลต่อโลกร้อน -การผลิตภาคเกษตรที่เน้นแต่ปริมาณจนลืมความปลอดภัยของส่วนรวม
-ทางรอดของชุมชน ในเรื่องอาหาร การผลิตอาหาร ทีมีทรัพยากรธรรมชาติเป็นทุนและความปลอดภัยให้กับชีวิต -ครัวเรือนชุมชน มีผลโดยตรง กับการขับเคลื่อนความเป็นอยู่และการดำรงชีวิต ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ในนามผู้ผลิตและผู้บริโภค -เรื่องคุณภาพดินเปรียบเทียบแหล่งใช้สารเคมีกับใช้วัฏจักรไส้เดือนดินได้ยกตัวอย่างภาพให้เห็นแล้วในกิจกรรมก่อนหน้านี้ -ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายให้ได้ความสำคัญตลอดจนชุมชน ครัวเรือนหน่วยงานและภาคอื่นๆให้ได้เข้าใจ
เว็บไซต์กรมส่งเสริมการเกษตร
ที่ประชุมการทำแผนพัฒนาการขับเคลื่อนยุธศาสตร์ อำเภอ อ่าวลึกและการทำแผนพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ จังหวัดกระบี่

 

0 0

12. ตรวจเอกสารและการติดตามการดำเนินงานโดย สจรส.

วันที่ 24 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อรับแนวทางการปฎิบัติงานโครงการได้ถูกต้อง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

บรรลุตามวัตถุประสงค็

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ตรวจสอบเอกสารและรับฟังข้อแก้ไขจาก สจรส. มอ

กิจกรรมที่ทำจริง

เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.

 

0 0

13. เวทีประเมินผลการดำเนินงานโครงการและการหนุนเสริมครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน

วันที่ 6 สิงหาคม 2556 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เนื่องจากกิจกรรมเป็นกิจกรรมกระบวนการเลื่อนไปจัดกิจกรรมในวันที่ 9 เดือนกันยายน 2556

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • ตรวจคุณภาพดินเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลง
  • วิเคราะห์ต้นทุนด้านการใช้สารเคมีจากการบันทึก
  • ประกาศเกียรติคุณสำหรับครอบครัวต้นแบบสวนปาล์มปลอดภัย

กิจกรรมที่ทำจริง

เนื่องจากกิจกรรมเป็นกิจกรรมกระบวนการ

 

0 0

14. ลงพื้นที่ติดตามโครงการ บ้านอ่าวลึกน้อย

วันที่ 3 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ติดตามความก้าวหน้าของโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีผลิตภัณฑ์ของโครงการ เกิดผู้นำใหม่และเกิดกระบวนการการให้ความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เวทีประชุมเครือข่ายในการสนับสนุนพื้นที่โครงการ ปรูธรรมกิจกรรมโครงการ ทำความเข้าใจการรายงานเพื่อปิดโครงการ การเตรียมตัวนำเสนอผลงานในงาน “ร่วมขับเคลื่อนชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง”ภาคใต้ วันที่ 28-29 กันยายน 2556 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติเฉลิมพระเกียรติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

กิจกรรมที่ทำจริง

สุ่มติดตามสมาชิกกลุ่มสวนปาล์มที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ตามวัตถุประสงค์ และสำนักงานโครงการชีวินทรีย์กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และบริบททั่วไปที่ได้รับผลสืบเนื่องจากกิจกรรม

 

0 0

15. ศึกษาดูงานด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์โดยอาศัยกระบวนการย่อยสลายของไส้เดือนดิน

วันที่ 6 กันยายน 2556 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

1.เพื่อให้ยุวเกษตรกรได้เห็นความสำคัญของใส้เดือนดิน 2.กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงแพะได้เห็นคุณค่าของมูลแพะและนำมาใช้เลี้ยงใส้เดือนเพื่อเป็นปุ๋ยชั้นดีได้ 3.กลุ่มทำอาหารสัตว์ได้เรียนรู้ว่าเศษวัสดุเหลือใช้สามารถผลิตอาหารใส้เดือนได้และใส้เดือนสามารถนำมาผลิตอาหารส่วนผ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ทั้ง4กลุ่มเป้าหมายเลงเห็นถึงคุณค่าและวาดหวังสู่การปฎิบัติที่ต้นทุนต่ำและผลผลิตดี หากปฎิบัติสม่ำเสมอ และสามารถต่อยอดวัสดุทดแทนไว้ทุกรูปแบบที่ย่อยสลายได้ด้วย ตัวเองและใส้เดือนดิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ศึกษาดูงานด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์โดยอาศัยกระบวนการย่อยสลายของใส้เดือนดิน

กิจกรรมที่ทำจริง

นำตัวแทนกลุ่มเป้าหมายสองคือกลุ่มยุวเกษตรกร,กลุ่มเลี้ยงแพะ,กลุ่มอาหารสัตว์ศึกษาดูงานในพื้นที่จากกลุ่มผลิตปาล์มน้ำมัน75รายดู10แปลงนำร่องเพื่อให้เห็นและเห็นความสำคัญของใส้เดือนดินในสวนปาล์มน้ำมันและกระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นตลอดจนทั้ง4กลุ่มเป้าหมายจะเป็นวัฎจักรของกันและกันในกระบวนการเพื่อสนองถึงสุขภาพความปลอดภัยในชีวิตและสุขภาพ รวมสมาชิก 36ราย

 

75 36

16. เวทีประเมินผลการดำเนินโครงการและการอุดหนุนเสริมครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานประกาศเกียรติคุณสำหรับครอบครัวต้นแบบสวนปาล์มปลอดภัย

วันที่ 9 กันยายน 2556 เวลา 09:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. ประเมินผลการดำเนินงานโครงการ เพื่อบรรลลุวัตถุประสงค์หลัก
  2. มอบรางวัลเกียรติคุณกลุ่มเป้าหมายสวนปาล์มปลอดภัยและยุวเกษตรกรโรงเรียนอ่าวลึกน้อย

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและเห็นความสำคัญของชีวิตร่างกายและสุขภาพจากการกินอาหารปลอดภัย ปลอดสารพิษ จากสารเคมีและโรคจากสารเคมี การนำวัดุเหลือใช้มาลดต้นทุนโดยกระบวนการและและคุณค่าของชีวิตเล็กๆคือ ใส้เดือนดิน และจุลินทรีย์ในกระบวนการผลิตจากปุ๋ยมูลใส้เดือนและฉี่ใส้เดือนดินโดยวัสดุเหลือใช้ที่มีปัญหาทางสังคมในชุมชนและแปลงผลิตของเกาตรกร ความสุขตามสุขภาวะ4มิติเกิดขึ้นระดับหนึ่งด้วยสำนึก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เวทีประเมิณผลการดำเนินงานโครงการและการอุดหนุนเสริมครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายที่ประสบความสำเส็จในการดำเนินงานประกาศเกียรติคุณสำหรับครอบครัวต้นแบบสวนปาล์มปลอดภัย

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานได้กล่าวแจ้งความเป็นมาของโครงการที่ได้รับงบประมาณจาก สสส.และแจ้งถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ,การดำเนินการโครงการกับกลุ่มเป้าหมายของชุมชนอ่าวลึกน้อยหมู่ที่3 ผลที่ชุมชนได้รับและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระดับหนึ่งของโครงการแก่ท่านประธานในพิธี นายนิกร จันอำไพ นายอำเภออ่าวลึกมีหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เช่นเกาตรอำเภออ่าวลึก พัฒนาการอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ หัวหน้า รพสต.ตำบลอ่าวลึกน้อย กลุ่มเป้าหมายหลัก,รอง ตลอดจนประชาชนไปชุมชน และมอบรางวัลเกียรติคุณให้แก่กลุ่มเป้าหมาย2กลุ่มคือกลุ่มผลิตปาล์มน้ำมัน 1ครัวเรือนและกลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อยรวม2รางวัลและร่วมรับประธานอาหารกล่าวปิดโครงการโดย นายนิกร จันอำไพนายอำเภออ่าวลึก

 

75 75

17. ตรวจเอกสารและการติดตามการดำเนินงาน-ปิดโครงการโดย สจรส.

วันที่ 21 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อรับแนวทางการปฎิบัติงานโครงการได้ถูกต้อง และตรวจเอกสารเพื่อปิดโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

บรรลุตามวัตถุประสงค็

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ตรวจเอกสารการดำเนินโครงการและปิดโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.

 

0 0

18. ภาพกิจกรรมตลอดโครงการ

วันที่ 22 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

รวบรวมภาพทั้งหมดของกิจกรรม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สามารถนำเสนอภาพกิจกรรมในรูปแบบต่างๆสู่สาธรณะชนได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เก็บและประมวลภาพในรูปแบบต่างๆ เช่น รูปถ่าย VCD แผ่นพับเอกสารเผยแพร่ เพื่อเผยแพร่สู่สังคมในรูปแบบการปฎิบัติการเชิงวิชาการและ สสส. สจรส. มอ

กิจกรรมที่ทำจริง

เก็บภาพในพื้นที่และนอกพื้นที่เป็นรูปกิจกรรมในรูปแบบต่างๆเพื่อนำเสนอ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 29 22                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 197,525.00 199,277.87                    
คุณภาพกิจกรรม 88 65                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายเหม บุตรหลำ
ผู้รับผิดชอบโครงการ