โตดนุ้ยรักษ์ถิ่น - เล - ป่า

พี่เลี้ยงชวนถอดบทเรียน14 เมษายน 2556
14
เมษายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย โตดนุ้ยรักษถิ่น - เล - ป่า
circle
วัตถุประสงค์

ติดตามงาน 6 เดือนแรก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตัวแทนแกนนำ กลุ่มต่างๆ 16 คน พูดคุยสรุปการทำงาน 6 เดือนแรก

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวแทนแกนนำ กลุ่มต่างๆ 16 คน พูดคุยสรุปการทำงาน 6 เดือนแรก
สรุปถอดบทเรียน ติดตามโครงการ 6 เดือนแรก (โดยหวังผลลัพธ์) - ชุมชนเข้มแข็ง - ประเมินผลระหว่างทาง กิจกรรมหลักโครงการ - ธนาคารปูไข่ - ลดการทิ้งขยะ - อนุรักษ์ป่า - วางแนวเขต แกนนำร่วมแสดงความคิดเห็นการดำเนินงานที่ผ่านมา จากการทำโครงการมา 6 เดือน มีความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ด้านเยาวชน - เด็กเยาวชนได้เรียนรู้ - ได้มีการรวมตัว - เมื่อก่อนความใกล้ชิดห่างเหินไม่มีกิจกรรมร่วมกัน - เมื่อก่อนเวลามีกิจกรรมไม่ค่อยมีเยาวชนมามีส่วนร่วม - เยาวชนมีความกระตือรือร้นที่จะทำงานมากขึ้น - เยาวชนรู้สึกมีค่ามากขึ้น - มีการกลับมาเล่าสู่กันฟังคนในครอบครัว - ได้มีความรู้นอกห้องเรียน ด้านผู้ใหญ่ - อยากเป็นตัวอย่างให้กับเยาวชน - อยากพัฒนาหมู่บ้าน - มีความกระตือรือร้นที่จะทำงานมากขึ้น - เมื่อก่อนกิจกรรมนานๆครั้ง พอมีโครงการของสสส.ลงมามีกิจกรรมมากขึ้นทำให้ชาวบ้านมีการพบปะพูดคุยมากขึ้น กระบวนการทำงานมีการเปลี่ยนแปลง - มีการแบ่งหน้าที่อย่างชัดเจน - มีส่วนร่วมมากขึ้น - มีโรงเพาะชำกล้าไม้ - มีป่ามากขึ้น - ชาวบ้านรับรู้การอนุรักษ์มากขึ้น ปัญหาการทำงาน - คณะกรรมการมีเวลาไม่พร้อมกัน (แกนนำมีหลายตำแหน่ง) - จัดกิจกรรมบางคนไม่ให้ความสำคัญ - ขาดสภาองค์กรชุมชน - ใช้คนมากไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิต - การเมืองมีส่วนในการทำงาน - ขาดแกนนำรุ่นใหม่ๆ ต่อยอด กิจกรรมโครงการ - ขยะไม่มีที่กำจัด - อบรมให้ความรู้เรื่องขยะ - ขยะที่มาจากทะเล เช่น (บารัง) เอามาทำอะไรได้บ้าง - ให้เยาวชนได้มีเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน ระหว่างนอกหมู่บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางนฤมล อุโหยบ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี