directions_run

โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิต เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง 2. ประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 บ้านบ่อประดู่ ได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 50 ครัวเรือน 3. เกิดแกนนำเยาวชนสุขภาวะ

1.นักเรียนร้อยละ80ในศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเสริมสร้างทางทักษะการดำรงชีวิตเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง 2.ประชาชนในหมู่2 บ้านบ่อประดู่ ได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 50 ครัวเรือน 3.เกิดแกนนำเยาวชนสุขภาวะ

2 เพื่อขยายแนวคิดการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนรอบศูนย์เรียนรู้
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 บ้านบ่อประดู่ ดำเนินชีวิตตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 50 ครัวเรือน 2. เกิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน จำนวน 1 แห่ง 3. เกิดชุดความรู้เรื่อง แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด 4. เกิดข้อมูลแผนที่สุขภาวะของหมู่บ้าน 5. เกิดคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนสู่ชุมชนสุขภาวะที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6. เกิดแผนงานเพื่อการขับเคลื่อนงานของพื้นที่ 7. แผนงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง สู่ชุมชนสุขภาวะถูกบรรจุเป็นแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 บ้านบ่อประดู่ ดำเนินชีวิตตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 50 ครัวเรือน ซึ่ง1.ได้เกิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน จำนวน 1 แห่ง  2.  เกิดชุดความรู้เรื่อง แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด 3. เกิดข้อมูลแผนที่สุขภาวะของหมู่บ้าน 4. เกิดคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนสู่ชุมชนสุขภาวะที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. เกิดแผนงานเพื่อการขับเคลื่อนงานของพื้นที่ และ6. แผนงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง สู่ชุมชนสุขภาวะถูกบรรจุเป็นแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

3 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงานโครงการเข้าร่วมการประชุมกับสสส. หรือ สจรส.ม.อ. อย่างน้อยร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งทีจัด 2. มีป้ายไวนีลสถานที่นี้ปลอดบุหรีจัดตั้งไว้ในชุมชน 3. มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์จัดส่ง สสส. 4. มีภาพถ่ายทุกกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

ประชาชนในหมู่2บ้านบ่อประดู่ รวมทั้งเด็กนักเรียนในโรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์ได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตแบบพอเพียง เกิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน จำนวน 1 แห่ง เกิดชุดความรู้เรื่อง แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด เกิดข้อมูลแผนที่สุขภาวะของหมู่บ้าน เกิดคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนสู่ชุมชนสุขภาวะที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกิดแผนงานเพื่อการขับเคลื่อนงานของพื้นที่ แผนงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง สู่ชุมชนสุขภาวะถูกบรรจุเป็นแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำรงชีวิต เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้ (2) เพื่อขยายแนวคิดการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนรอบศูนย์เรียนรู้ (3) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh