directions_run

โครงการบ้านน่ามอง คลองน่าดู ชุมชนน่าอยู่ หมู่ประชาเข้มแข็ง

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบ้านน่ามอง คลองน่าดู ชุมชนน่าอยู่ หมู่ประชาเข้มแข็ง

รหัสโครงการ 55-01861 รหัสสัญญา 55-00-0912 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การให้ความรู้ในเรื่องการทำน้ำหม้กชีวภาพ เพื่อนำไปใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ซึ่งโดยปกติชุมชนเมืองจะใช้ชีวิตและฝากท้องไว้กับร้านค้าและตลาดมากกว่าการทำใช้เอง จากกิจกรรมของสสส.ทำให้ชุมชนกลับมาใช้ชีวิตแบบชนบทมากขึ้น มีการทำเกษตรปลอดสารเป็นต้น

ภาพถ่ายกิจกรรม รายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 85 คน

ครัวเรือนในชุมชนได้บริโภคผักปลอดสารพิษทุกคัวเรือน ส่วนที่เหลือจากในชุมชนนำไปจำหน่ายให้มีรายได้ในครัวเรือนเหลือเก็บ เพื่อจัดตั้งเป็นกองทุนสร้างส่งเสริมสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ประดิษฐ์ดอกไม้จากซองน้ำยาปรับผ้านุ่ม แล้วจัดใส่แจกัน เพื่อจำหน่ายในโอกาสต่าง ๆ

นางระรินทร์ ษรเกตุ
83/7 ม.8 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร โทร. 086-6908892

ขยายออกไปในเขตพื้นที่ชุมชนใกล้เคียง ต่อส่งเสริมให้ จัดตั้งเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การบูรณาการงาน/กิจกรรมร่วมกับเทศบาลเมืองชุมพร

นโยบายนายกเทศมนตรีเมืองชุมพรที่ประกาศในที่ประชุม

การต่อยอดโครงการหลังหมดสัญญากับ สสส.

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

จัดอบรมให้ความรู้แก่สมาชิกในชุมชน จัดการหาตลาดให้แก่ผู้ที่ทำเพื่อเป็นรายได้เสริมในครอบครัว

ภาพถ่ายกิจกรรม รายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม

นำไปจำหน่าย ทำให้ครอบครัวจะมีรายได้เพิ่มขึ้น และทำเป็นสินค้าประจำชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กลุ่มปลูกผักสารปลอดพิษเพื่อบริโภคครัวเรือน

นางทิพวรรณ ทิพย์พิมล 39 ม.8 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร นายชิต ณ นคร 74/1 ม.8 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร

สามารถให้ความรู้แก่บุคคลอื่นในชุมชน เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีการบริโภคผักปลอดสารพิษ และมีรายได้เสริมทุกครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ครูใช้ชุมชนเป็นฐานเรียนรู้ด้านการมีส่วนร่วมในการพัฒนาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่มีแกนนำชุมชนเป็นครู เป็นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง

กศน.อ.เมือง ครู โรงเรียนเทศบาลบ้านท่าตะเภา ร.ร.ศรียาภัย ร.ร.สอาดฯ ร.วัดนาทุ่ง แกนนำชุมชน

แหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ และเชื่อมเครือข่ายอื่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

เทศบาลเมืองชุมพร นำแนวคิดการวิเคราะห์สถานภาพของชุมชนตามหลักของ สจรส.มอ.ไปใช้ในการบริหารจัดการงานและโครงการของเทศบาล

สรุปรายงานการประชุม

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

บริโภคปลอดสารพิษ ไม่ใช้สารเคมี  และออกกำลังกายเป็นประจำ

ภาพถ่ายกิจกรรม รายชื่อผู้เข้ารับการฝึกออกกำลังกายผ้าขาวม้า

จัดให้มีการออกกำลังกายอาทิตย์ละ 3 วัน ๆ ละ 1 ชั่วโมง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนส่่วนมากบริโภคพืชผักที่ปลูกเองหรือซื้อจากชาวบ้านในชุมชนที่ปลูกเพื่อสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนอีกทาง สมาชิกในชุมชนบริโภคผักปลอดสารพิษที่ปลูกเองและนำไปจำหน่ายในชุมชนเพื่อสร้างรายได้ให้ครอบครัวและเพื่อนสมาชิกในชุมชนได้บริโภคผักปลอดสาร

พื้นที่ในชุมชนที่ปลูกผักปลอดสารพิษ
นางทิพวรรณ ทิพย์พิมล 39 ม.8 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร นายชิต ณ นคร 74/1 ม.8 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร

มีการรวมกลุ่มเยาวชนและผู้สูงอายุให้ปลูกพืชผักปลอดสารพิษบริโภคเองและเหลือจากบริโภคนำไปจำหน่ายตลาดนัดในชุมชน และตลาดนัดหน้าเทศบาลเมืองชุมพร ทุกวันศุกร์ เสาร์ ทุกอาทิตย์ เพื่อสร้างได้ต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ออกกำลังกาย แต้นแอโรบิค เดิน วิ่ง

ใช้สนามกีฬา สวนสธารณะ ค่ายอาภากรเกียรติวงศ์

มีลานออกกำลังกายในชุมชน มีการออกกำลัง ที่ทุกวัยสามารถออกกำลังกายร่วมกันทุกกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ได้รวมกลุ่มกิจกรรม สสส. เพื่อให้การทำงานร่วมกัน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

รวมกลุ่มทำกิจกรรม

ทำให้สมาชิกชุมชน ลดความเครียด และรู้จักแบ่งปันความคิดให้กับผู้อื่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ปลูกสมุนไพรไว้บริโภคในครัวเรือน

พื้นที่ครัวเรือนในชุมชน

แต่ละครัวเรือนเหลือจากบริโภคนำไปจำหน่าย เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ออกกำลังกาย บริโภคผักปลอดสารพิษ

พื้นที่ครัวเรือนในชุมชน

นำผักไปจำหน่ายตลาดชุมชน อาทิตย์ละ 3 วัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

จากการปรับสภาพแวดล้อมของชุมชน เช่น มีการคัดแยกขยะ การเพิ่มถังขยะในชุมชน และการนำขยะและวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เพื่อเพิ่มรายได้ในครอบครัว การนำขยะมาทำปุ๋ย และส่งเสริมให้สมาชิกชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ ส่งเสริมให้ครัวเรือนปรับเปลี่ยนจากการปลูกไม้ดอกไม้ประดับมาปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อบริโภค ส่งผลให้ชุมชนมีพื้นที่การทำการเกษตรปลอดสารที่มากที่สุดในเขตเทศบาล และเป็นห้องเรียนธรรมชาติของนักเรียนโรงเรียนเทศบาลเมืองชุมพรและโรงเรียนสะอาดเผดิมวิทยา

พื้นที่/ครัวเรือนในชุมชนและสภาพพื้นที่ว่างในชุมชน/ครูใช้ชุมชนเป็นฐานเรียนรู้ด้านการมีส่วนร่วมในการพัฒนาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่มีแกนนำชุมชนเป็นครู เป็นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง

ครัวเรือนในชุมชนมีผักปลอดสารพิษ ไว้หน้าบ้าน ทำให้บ้านน่าดู น่ามอง ส่งผลให้มีสภาพแวดล้อมในครัวเรือนมีสุขภาพดี ไม่ต้องพึ่งยา/และสร้างชุมชนให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรปลอดสาร(เกษตรอินทรีย์)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

มีการทำบุญประจำปี ทำบุญเลี้ยงพระ ประเพณีจัดงานกลางบ้าน การแข่งกีฬา นันทการร่วมกัน

ภาพถ่ายกิจกรรม

ครอบครัว กลุ่มวัยต่าง ๆ ได้ทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้น ทุกปี เป็นการรักษาประเพณีวัฒนธรรมของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ปลูกผักปลอดสารพิษ และการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุเหลือใช้

ภาพถ่ายกิจกรรม พื้นที่ในชุมชน

มีการเพิ่มรายได้ให้กับทุกครัวเรือนในชุมชน หาตลาดเพิ่มมากขึ้น เพื่อเป็นการสร้าอาชีพใหม่ และเป็นรายได้หลัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

ได้เข้าร่วมกับเทศบาลเมืองชุมพร ในการจัดให้บริการมีหน่วยบริการเคลื่อนที่ในชุมชน ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ซึ่งทำให้กลุ่มเสี่ยงไม่ต้องเดินทางไปโรงพยาบาล

ภาพถ่ายกิจกรรม อสม.ในชุมชน

ทำให้บริการด้านสุขภาพในชุมชนทั่วถึง ทุกคนในชุมชนมีความภาพดี ไม่มีกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีสมาชิกจากชุมชนอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน และเทศบาลให้ความสำคัญและประกาศนโยบายต่อยอดโครงการหลังจากหมดงบของ สสส.

ภาพกิจกรรม

ชุมชนใกล้เคียง เทศบาล อบจ.และพิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรติ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

สามารถทำให้สมาชิกในชุมชนทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุข ประเมินได้จากการทำกิจกรรมร่วมกัน

ภาพกิจกรรม

สมาชิกในชุมชนมีความรักสามัคคีกัน สามารถรวมตัวกันทำกิจกรรม ช่วยเหลือกันในชุมชนและเครือข่ายนอกชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้เกิดประโยชน์โดยการเข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมโดยไม่ปฏิเสธ ทำให้ชุมชนน่าอยู่

ภาพกิจกรรม

มีการจัดให้มีการออม และจัดจั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

การเข้าร่วมโครงการของสมาชิกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้เข้าร่วมกิจกรรมบ่อยขึ้น

ภาพกิจกรรม รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการแต่ละครั้ง

ได้รับการสนับสนุนจาก สสส. และเทศบาล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

การใช้ข้อมูลที่ได้เรียนรู้มาใช้ในการตัดสินใจในการทำงาน และมีการจัดทำแผนปฏิบัติการทำงาน

ภาพกิจกรรมโครงการ

มีแผนปฏิบัติการทำงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

สามารถให้ความรู้ และเชิญสมาชิกในชุมชนเข้าร่วมกงานและมีส่วนร่วมในกิจกรรมมากขึ้น มีการยอมรับและเป็นตัวแทนสมาชิกในชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมในเครือข่ายและนอกเครือข่าย เช่น ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่, ประธานกองทุนสวัสดิการชุมชนบ้านทุ่งจิก, อสม., เหรัญญิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเทศบาลเมืองชุมพร, นายทะเบียนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเมืองชุมพร และเป็นสมาชิกเครือข่ายโลกสีเขียว ทำให้ชุมชนเป็นที่ยอมรับของเครือข่ายอื่น

สมาชิกในชุมชน

ประธานชุมชน เป็นตัวแทนของชุมชนเข้าถึงเครือข่ายอื่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

มีการเสียสละ ช่วยเหลือ ให้ความรู้สมาชิกในชุมชน โดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน

สมาชิกในชุมชน และเครือข่ายอื่น

เสียสละ ช่วยเหลือ ไม่แบ่งชนชั้นในการทำงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ปลูกปลอดสารพิษไว้บริโภคเอง และใช้จ่ายอย่างประหยัด มีการเก็บออม ให้แบ่งปันเพื่อนสมาชิกในชุมชน

สมาชิกในชุมชน

ยึดหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง เดินตามรอยพ่อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

การทำงานร่วมกัน ให้ความรัก ความเอาใจใส่ และการเข้าร่วมกันทำกิจกรรมบ่อยขึ้นในชุมชน ทำให้ชุมชนเข้มแข็ง

สมาชิกในชุมชน

ไม่มียาเสพติด อบายมุข ในชุมชน ชุมชนเข้มแข็ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองชุมพร ขอนำแนวคิดการวิเคราะห์สถานภาพของชุมชนในการจัดทำโครงการไปใช้ในการบริหารจัดการงานและโครงการและมีนโยบายต่อยอดโครงการชุมชนน่าอยู่ที่ได้รับการสนับสุนจาก สสส.