แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการล้อมรั้ว ล้อมรัก ด้วยผักพื้นบ้าน

รหัสโครงการ 55-01847 รหัสสัญญา 55-00-0984 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
  • มีการจัดการพื้นที่บางส่วนในโรงเรียน สร้างโรงเรือนขนาดเล็กเพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการรวบรวมพันธุ์ผักพื้นบ้าน ผักสมุนไพร เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และจัดกิจกรรมทางการเกษตรให้กับเยาวชน
  • ธนาคารผักพื้นบ้านในโรงเรียน
  • สร้างหลักสูตรท้องถิ่นการเรียนรู้ผักพื้นบ้าน ผ่านฐานการเรียนรู้ในธนาคารผักพื้นบ้านของโณงเรียน
  • สร้างธนาคารผักพื้นบ้าน ให้เป็นสถานที่ในการอนุรักษ์พันธุกรรมผักต่างๆ ที่มีในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • จากการดำเนินงานโครงการทำให้มีการสร้างความร่วมมือกับคนทำงานทุกวัย โดยเฉาะกลุ่มเยาวชนที่เป็นเป้าหมายหลักใในการทำงาน จนเกิดการมอบหมายบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลธนาคารผักพื้นบ้านให้กับเยาวชนในโรงเรียนบ้านบ่อน้ำผุด
  • กลุ่มเยาวชนดูแลธนาคารผักพื้นบ้าน
  • จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างศักยภาพและทักษะความสามารถด้านต่างๆ ให้กับเยาวชน เมือ่ให้เยาวชนเกิดความรับผิดชอบ และสามารถบริหารจัดการกิจกรรมที่ดำเนินการได้เอง โดยให้คณุเป็นแค่พี่เลี้ยง ที่ปรึกษา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
  • ธนาคารผักพื้นบ้านกลายเป็นที่เรียนรู้ของเยาวชนในโรงเรียนเกี่ยวกับการทำปุ๋ยชีวภาพ การทำเกษตรแบบอินทรีย์ เรียนรู้เกี่ยวกับผักพื้นบ้าน พืชสมุนไพร ผักปลอดสารพิษ
  • ธนาคารผักพื้นบ้าน
  • พัฒนาแหล่งเรียนให้ครบวงจรเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค
  • มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยการหันมาบริโภคผักพื้นบ้านที่ปลูกเองในชุมชนมากขึ้นแทนการซื้อผักจากตลาดมาบริโภค
  • ผักพื้นบ้านที่ปลูกเพิ่มริมรั้วบ้าน
  • สร้างแรงจูงใจให้คนในชุมชนปลูกผักพื้นบ้าน พืชอาหารเพิ่มขึ้น เพื่อใช้เป็นอาหารในครัวเรือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
  • ถึงแม้จะไม่มีการสร้างอาชีพเสริมจากผักพื้นบ้าน แต่ก็สามารถลดรายจ่ายของครัวเรือนในการซื้อผักมาบริโภค
  • ผักริมรั้ว
  • ส่งเสริมให้คนในชุมชนปลูกผักไว้รับประทานในครัวเรือนเพิ่มขึ้น แล้วให้นำผักที่เหลือจากการรับประทานมาแลกเปลี่ยนกัน แทนการขาย ให้วิถีการตลาดแบบแลกเปลี่ยนสินค้าเหมือนในอดีต
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  • การทำงานที่ผ่านมาโครงการ สามารถดำเนินงานจนบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้เพราะมีการเชื่อมโยงประสานงานถาคีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกชุมชน เช่น กศน. คีรีรัฐนิคม โรงเรียนบ้านบ่อน้ำผุด โรงเรียนบ้านต้นมะพร้าวมิตรภาพที่  ๙๑  อำเภอคีรีรัฐนิคม วัดถ้ำสิงขร อบต. มาหนุนเสริมกิจกรรมในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  • ภาคีเครือข่ายที่มาช่วยเป็นวิทยากรในการจัดกิจกรรม
  • สร้างความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายการทำงานที่มีต่อไป โดยให้ความสำคัญกับทุกภาคีเครือข่าย และใช้ศักยภาพของภาคีเครือข่ายในการพัฒนาศักยภาพของทีมงานด้วย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • คณะทำงานโครงการ และคนในชุมชนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา สร้างคุณค่า สิ่งๆ ดีๆ ให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การใช้ข้อมูลในการประเมินปัญหาและสถานการณ์ของชุมชน การวางแผนการทำงานจากข้อมูลและทุนที่มี การปฏิบัติการอยู่บนพื้นฐานของศักยภาพของชุมชน และมีการประมเนิผลสำเร็จของโครงการ ของกิจกรรมร่วมกันในการประชุมทีมงาน
  • กิจกรรมการประชุมคณะทำงานทุกเดือน
  • ใช้กระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมในการทำงานพัฒนาชุมชน แก้ไขทุกปัญหาของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
  • โครงการมีการใช้ประโญชน์จากทุนต่างๆ ที่มีในชุมชน เช่น ทุนทรัพยากรธรรมชาิติอย่างผักพื้นบ้าน ทุนทรัพยากรมนุษย์อย่างครูภูมิปัญญา อบต. แกนนำชุมชน ทุนองค์กร กลุ่มองค์กร อย่างโรงเรียน เพื่อให้งานประสบผลสำเร็จ
  • ทุนทางสังคมของชุมชนบ้านทรายขาว
  • นำทุนทางสังคมในชุมชนอื่นๆ ที่มี มาหนุนเสริมการทำงานเพิ่มขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเรื่องการเรียนรู้จากธนาคารผักพื้นบ้านในโรงเรียน การส่งเสริมให้มีการปลูกผักในครัวเรือน เพราะคนในชุมชนได้ประโยชน์และัเห็นความสำคัญของสิ่งที่โครงการทำให้
  • ธนาคารผักพื้นบ้าน
  • ผักริมรั้ว
  • ดำเนินงานโครงการด้านการส่วเสริมการผลุกผักพื้นบ้านริมรั้ว
  • ส่งเสริมกิจกรรมการกินผัก การกินอาหารที่ปรุงเองภายในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
  • คณะทำงานเกิดทักษะในการจัดการโครงการเพิ่มมากขึ้น มีการใช้ข้อมูลประกอบการทำงาน ประกอบการตัดสินใจ มีการทำแผนปฏิบัติงานโครงการที่มาจากพื้นฐานของข้อมูลที่มี มาจากบริบทและความเหมาะสมตามสถานการณ์ของชุมชน
  • ข้อมูลชุมชน
  • สามารถเขียนงานโครงการพัฒนาขอรับหารสนับสนุนจากหน่วยงานอื่นๆ เพื่อสร้างการเรียนรู้และฝึกทักษะการบริหารงานโครงการที่แตกต่างกันออกไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความภาคภูมิใจที่ได้ช่วยกันปลูกผักในโรงเรียน ในชุมชน
  • ครูภูมิปัญญารู้สึกภูิมิใจที่ไม่ถูกหลงลืม คนรุ่นหลังยังให้ความสำคัญ
  • คณะทำงานรู้สึกภูมิใจที่ได้ช่วยกันดูแลสขภาพของคนในชุมชน ได้มีผักปลอดภัยไว้บริโภค
  • จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ
  • จัดกิจกรรมในรูปแบบอืนๆ เช่น การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชน ของดีชุมน คนต้นแบบในชุมชน ให้กับกลุ่มเยาวชน เพื่อให้เกิดจิตสำนึกรักบ้านเกิดมากขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • คนในชุมชนเห็นประโญชน์ของส่วนร่วมมากขึ้น เข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ ช่วยกันผลูกผัก
  • จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรม
  • สร้างกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ให้คนในชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  • คนในชุมชนหันมาใช้ชีวิตแบบเรียบง่ายมากขึ้น เก็บผักริมรั้ว ริมทางมาบริโภคในครัวเรือน พึ่งพาผักในตลาดน้อยลง ทำให้ชีิวตตัวเองปลอดภัยจากสารเคมีมากขึ้น
  • วิถีชีวิตแบบคนกินผักปลูกเอง ผักริมรั้ว ผักพื้นบ้าน
  • รณรงค์ให้คนหันมาทำเกษตรอินทรีย์ในครัวเรือน ปลูกผักบางชนิดที่ต้องการบริโภค หรือที่ชอบไว้กินเองในครัวเรือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
  • ชุมชนเกิดความเอื้ออาทรกันมากขึ้น สังเกตได้จากการแบ่งปันผักที่ปลูกในบ้านแบบแบ่งปันกันกิน
  • ผักริมรั้ว
  • ส่งเสริมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนผักพื้นบ้านในชุมชน แทนการซื้อขาย เพื่อให้เกิดวิถีชีวิตแบบเดิมๆ ที่คนในชุมชนพึ่งพาอาศัยกัน เอื้อเฟื้อแบ่งปันกัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ