แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ชุมชนหูยาน บ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง

รหัสโครงการ 56-00268 รหัสสัญญา 56-00-0474 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2557

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
  1. การออกแบบจัดระบบและจัดกระบวนการชุมชนแบบมีส่วนร่วมโดยแบ่งสมาชิกสภาแกนนำเป็น 7 ฝ่าย และแต่ละฝ่ายมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ
  2. ตลาดเขียว พื้นที่รักษ์สุขภาพ เปลี่ยนเป็นตลาดชุมชน  ที่ชุมชนออกแบบ มีกติกากันเอง เช่น จัดการขยะเอง สินค้าของคนในชุมชน มีลานเด็กทำกิจกรรมพื้นที่ยิ้ม ,พื้นที่นี้ดีจัง ที่มีเด็กและครอบครัวร่วมลานเล่นกับเด็ก ๆ ในชุมชน
  1. ผู้นำได้รับรางวัลกำนันแหนบทอง มีผลงานจากการดำเนินการจัดระบบการบริหาร
  2. กิจกรรมตลาดหูยานสะพานคนเดินทุกวันเสาร์สุดท้ายของเดือน

1.พัฒนาศักยภาพกรรมการหมู่บ้านเรื่องบทบาทหน้าที่ตามโครงสร้างของหมู่บ้านเนื่องจาก กรรมการหมู่บ้านไม่ได้เป็นผู้นำที่มีค่าตอบแทนเพียงเป็นจิตอาสา  หรือผู้นำตามธรรมชาติ เขาควรได้รับการพัฒนาให้แข็งแรง บุคคลเหล่านี้มีอิทธิพลต่อชุมชน 2. ขยายผลกิจกรรมด้านครอบครัว เพิ่มมากขึ้นเพื่อดึงชุมชน  ออกมาสร้างกติการ่วม  ทำกิจกรรมร่วม และขยายผลไปสู่ชุมชนข้างเคียงโดยใช้เด็กเป็นแกนนำขับเคลื่อนให้ผู้ใหญ่เป็นพี่เลี้ยง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
  1. โรงเรียนผึ้งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ใช้ผึ้งอธิบายสุขภาวะชุมชน,ผึ้งเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร,ชุมชนเลี้ยงผึ้ง ชุมชน ไม่ใช้สารเคมี ส่งผลกระทบกับสุขภาพร่างกายดีขึ้นจากผลการตรวจเลือดประชาชนของชุมชนสารปนเปื้อนในร่างกายลดลงตำกว่า 97%
  2. ตลาดชุมชน ที่ชุมชนกำหนดกิจกรรมเอง สร้างกติการ่วม
  1. หลักสูตรผึ้งภูมิปัญญาฟื้นชุมชน
  2. ตลาดหูยานสะพานคนเดิน
  1. ผลักดันเป็นหลักสูตรท้องถิ่น คนทั่วไปเรียนรู้,เด็กปฐมเรียนรู้และเด็กอนุบาลเรียนรู้
  2. พัฒนาเป็นตลาดชุมชน ที่ห่วงใยสุขภาพผู้บริโภค ผู้ผลิต และครอบครัว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
  1. เน้นการประชุม,การพูดคุยบ่อยทำให้การแก้ปัญหาอื่น ๆ ง่ายขึ้น
  2. เน้นกระบวนการทบทวนแผนชุมชนเริ่มตั้งแต่การทำยุทธศาสตร์ร่วมกับเทศบาล
  3. การขับเคลื่อนชุมชนหูยานต้องทำเป็นกระบวนการและทำอย่างต่อเนื่อง
  1. ประชุมทุกวันที่ 10 ของเดือน
  2. ทุกกิจกรรมเน้นการสื่อสารประชาสัมพันธ์
  3. ทำกิจกรรมซ้ำอย่างต่อเนื่อง
  1. พัฒนาแผนชุมชนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นแต่ละด้าน เช่น

- ด้านอาชีพของประชาชน - ด้านคุณภาพชีวิต เด็ก เยาวชน ครอบครัวและผู้สูงอายุ - สร้างกติกาเพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ใช้การประชุม การวางแผนเตรียมงานขับเคลื่อน,ใช้การสื่อสารผ่านหัวหน้าคุ้มบ้าน,จะมีประสิทธิภาพมากกว่าสื่อสารผ่านหอกระจายข่าว,จดหมายข่าว

ความเชื่อมั่นกับกลุ่มให้เห็นไม่ได้ทำคนเดียวทำเป็นชุมชน

พัฒนาศักยภาพแกนนำกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสะท้อนปัญหาเขียนแผนเพื่อเข้าถึงแหล่งทุนในการหนุนเสริมสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • เกิดกลุ่มสินค้าทดแทน กับกลุ่มบ้านหูแร่ ทีรวบรวมรับชื้อผลผลิตของกลุ่มมาทำกลุ่มผลิตเครื่องแกงเสริมรายได้กลุ่ม
  • กลุ่มสวนผักชุมชนคนหูยานที่ผลิตสินค้าทางการเกษตรปลอดสารอย่างต่อเนื่อง เพื่อสุขภาพของคนหูยานและชุมชนอื่น ทำทั้งชุมชนโดยมีแกนนำของกลุ่มรวบรวมผลผลิตมาจำหน่ายกับร้านค้าในชุมชน และส่งไปขายข้างนอก ผลิตไม่เพียงพอ
  • กลุ่มเลี้ยงผึ้งเดิมเลี้ยงอยู่ 25  คนปัจจุบันมากกว่า 50 คน แลขยายทั่วทั้งตำบล 8  หมู่บ้านและยังเป็นที่รู้จักขยายผลไปนอกพื้นที่ต่างตำบล ต่างอำเภอ โดย นางบุญเรือง แสงจันทร์ และนายนิกร  อรุณกิจ
  • กลุ่มสินค้าทดแทน คุ้มบ้านหูแร่
  • ตลาดเขียวพื้นที่คนรักษ์สุขภาพ ที่ขายทุกเดือน ในวันพุทธที่ 2 ของเดือนและวันเสาร์สุดท้ายของเดือน
  • การออกรายการวิทยุกับผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง นายเสรี  ศรีหไกร และรายการโทรทัศน์ช่อง 9 ตลอดจนหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 2 ครั้งและมีหนังสือวารสารจังหวัดพัทลุง
  • รวมกลุ่มผลิตสินค้าโอท็อปของชุมชน
  • พัฒนาผลิตภัณฑ์และขยายผลการผลิตให้เพียงพอกับความต้องการโดยการรณรงค์ให้ความรู้เรื่องอันตรายต่อร่างกายเมื่อมีสารปนเปื้อนสู่ร่างกายในปริมาณมาก ซึ่งทิศทางตัวเลข 97 % ลดลงของชุมชนหูยาน
  • การเลี้ยงผึ้ง 1 อย่างได้หลายอย่าง เช่น เมื่อไม่ใช้สารเคมี ผึ้งก็มีมาก ผลผลิตก็มีสูงขึ้น รายได้จากผลผลิตก็สูงขึ้น,รายได้จากน้ำผึ้งก็สูงขึ้น ต้องการขยายผลการเลี้ยงผึ้งโดยการให้ความรู้ขยายผล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
  • แหล่งเรียนรู้สินค้าทดแทน โดยคุณประคอง  จันทร์เพ็ง
  • กลุ่มสวนผัก นำโดย คุณสุมาลี ศรีโดน มีสมาชิก 70 คน มีตรารับรองมาตรฐานจากคุ้มครองผู้บริโภคจาก 3 หน่วยงาน เทศบาล  อนามัย  และตัวแทนผู้บริโภค
  • โรงเรียนผึ้ง เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ยกระดับ ต่อยอด ขยายผลภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เป็นนวตกรรมสุขภาพ ถ้าขยายผลเต็มพื้นที่แล้ว การเลี้ยงผึ้งจะพาตำบลนาท่อมไปสู่ตำบลสสุขภาวะได้
  • กลุ่มหูแร่เครื่องแกงและน้ำยาเอนกประสงค์
  • ตลาดเขียวพื้นที่สุขภาพทุกวันพุทธ แรกของเดือนและเสาร์ สุดท้ายของเดือน
  • หลักสูตรผึ้งที่ใช้กับโรงเรียนผึ้ง
  • คนเข้าใจโทษของการใช้สารเคมีมากขึ้น
  • สมาชิกมีความสุขเพิ่มขึ้นเมื่อผึ้งเข้ารังที่ตั้งรอไว้
  • พัฒนากระบวนการในแหล่งเรียนรู้เพื่อขยายผล
  • พัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่มกิจกรรมเพื่อความยั่งยืนของกลุ่ม
  • ให้หลักสูตรผึ้งใช้ในการเรียนการสอน 3 กลุ่ม คือ คนทั่วไปเรียนรู้เพื่อเป็นรายได้และส่งเสริมการไม่ใช้สารเคมี, นักเรียนเรียนรู้จากภูมิปัญญาดูแล ฟื้นสิ่งแวดล้อมตำบลนาท่อม,เด็กอนุบาลใช้ผึ้งเป็นสื่อให้เห็นคุณค่าของผึ้งทั้งทางสังคม  การเพิ่มผลผลิต และคุณค่าด้านอื่น ๆ มากมาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

พื้นที่ตลาดเขียวเป็นพื้นที่คนรักษ์สุขภาพเป็นที่รวมคนหลากหลายกลุ่มที่มีกิจกรรมร่วมกัน เช่น มีเด็กเล่นกีฬา ,มีลานเด็กเล่นเด็กเรียนรู้ ,มีเวทีพูดคุยเรื่องสุขภาพและเรื่องอื่น ๆ,มีดนตรีสบาย ๆ เชิญชวนคน เป็นพื้นที่รวมคนขายผลผลิตจากสมาชิกในชุมชนเพื่อเสริมรายได้

  • ตลาดนัดหูยานสะพานคนเดินวันเสาร์
  • อนามัยบ้านนาท่อมวันพุทธแรกของเดือน

พัฒนาตลาดเพื่อเป็นตลาดสุขภาพจริง ๆ ตลาดที่ให้ความรู้ทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิต คือตลาดชุมชนที่ชุมชนเป็นผู้กำหนดกติกา

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

จำนวนคนปลูกพืชกินเองหรือมีแปลงผักของครัวเรือนเพิ่มขึ้นมากกว่า 70  ครัวเรือน และผลผลิตที่เหลือนำมาจำหน่ายที่ร้านค้าในชุมชน 2  แหล่งและตลาดเขียวและมีการขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นในรูปการเป็นสมาชิกเนื่องจากสินค้าไม่พอจำหน่ายในตลาด

  • ครัวเรือนต้นแบบ  70 ครัว
  • ร้านค้าชุมชน 2 แห่ง
  • ตลาดเขียวเดือนละ 2 วัน

การขยายผลความรู้เรื่องสารเคมีปนเปื้อนสู่ร่างกายในรูปแบบกิจกรรมหลากหลาย เช่น กิจกรรมเพิ่มพื้นที่ดี, ส่งเสริมการปลูกและเลี้ยงผึ้งที่เป็นตัวเชื่อมได้ประโยชน์ทั้งผู้เลี้ยงและสิ่งแวดล้อม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

สนใจและพิถีพิถันเรื่องอาหารการกินในครัวเรือนเพิ่มขึ้นเช่น การรื้อฟื้นเมนูอาหารเดิม ๆ จากคนรุ่นเก่ามานำเสนอและคิดเมนูสุขภาพใหม่ ๆ เสริม

  • ครัวเรือนมีแปลงผักไว้กินเอง
  • ผลิตภัณฑ์มีตรามาตรฐานรับรองอาหารปลอดภัย
  • มีเมนูอาหารปลอดภัยมากขึ้น
  • ขยายผลโดยการสื่อสารและรณรงค์ควบคู่พัฒนากิจกรรมและผลิตภัณฑ์
  • พัฒนาเมนูอาหารปลอดภัยที่มีความหลากหลาย เพื่อนำมารับประทานกันในตลาดนัดชุมชนเดือนละ 1 ครั้งโดยสมาชิกครัวเรือนต้นแบบและสภาเด็กเยาวชน ผู้สูงอายุ เพื่อสร้างสังคมสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
  • ร่วมเป็นสมาชิกครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ที่มีเด็ก,ครอบครัว มาร่วมกันทำกิจกรรมเพื่อสุขภาพออกกำลังกาย,เก็บขยะ,เป็นกิจกรรมร่วมกัน
  • เต้นเอโรบิกทุกเย็นลานหน้าวัดนาท่อม
  • ทุกเช้าวันอาทิตย์และใช้จักรยานในการเดินทางช่วงสั้น ๆ
  • ลานกีฬาหน้าวัดนาท่อม
  • ขยายได้ 5 หมู่บ้านเป้าหมาย 8 หมู่บ้านรณรงค์การใช้จักรยานเพื่อออกกำลังกายและทัวร์ชุมชนเป็นเป้าหมายชุมชนท่องเที่ยว
  • รณรงค์ให้ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องเป็นปกติ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
  • คนในชุมชนรู้ เข้าใจ ให้ความร่วมมือในการรณรงค์ลด ละ เลิก เหล้า บุหรี่
  • รณรงค์ให้คนในชุมชนมีจิตสำนึก ที่ศาลาการประชุม จะเป็นสถานที่ปลอดเหล้า,บุหรี่ ในช่วงเวลาทำกิจกรรม

ป้ายประกาศรณรงค์ที่ติดไว้ที่ศาลาหมู่บ้าน

  • ขยายผลการสื่อสาร ,รณรงค์ต่อไปให้ศาลาการประชุม  8 หมู่บ้านเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ของตำบล
  • เพิ่มพื้นที่สร้างสรรค์ เช่นกิจกรรม ยิ้ม..ริมคลองนาท่อมครั้งที่ 2 เป็นกิจกรรมของเด็กและเยาวชนรณรงค์เพิ่มพื้นที่ปลอดเหล้า  ปลอดบุหรี่
  • รณรงค์ให้ตลาดสด, ร้านค้าของชำ,เป็นเขตปลอดบุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
  • การเพิ่มพื้นที่ดี มีกิจกรรมรณรงค์เรื่องโรคเอสด์ ในพื้นที่นี้ดีจัง

กิจกรรมยิ้ม ..ที่ริมคลองนาท่อม ครั้งที่ 2 ในกิจกรรมตลาดเขียว พื้นที่คนรักษ์สุขภาพ

รณรงค์อย่างต่อเนื่องในกิจกรรมอื่น ๆ คู่ขนาน เช่น งานสงกรานต์, ลอยกระทง,งานปีใหม่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

กิจกรรมชุมชนที่มีบ่อยเป็นการได้พูดคุย ได้ร่วมกิจกรรม,เช่น ประชุมหมู่บ้าน,ตลาดเขียวได้ขายผลผลิตชุมชน,การทำกิจกรรมที่มีพิธีพระด้วย

  • กิจกรรมตลาดเขียวในชุมชนและนอกพื้นที่
  • กิจกรรมของชุมชนมักทำในวัดหูยานจะมีพิธีพระด้วย เช่น กิจกรรมรณรงค์
  • กิจกรรมการรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม,การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีพิธีพระอย่างต่อเนื่องเพราะผู้สูงอายุส่วนใหญ่เข้าร่วมกิจกรรม
  • หาพระนักเทศน์มาให้ความรู้และพัฒนาจิตใจ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ภูมิปัญญาเลี้ยงผึ้ง ยกระดับ ขยายผลไปสู่ระดับนโยบายจังหวัดพัทลุง ขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย สู่การเป็นชุมชนเกษตรอินทรีย์

โรงเรียนผึ้ง

  1. พัฒนาให้ใช้หลักสูตรผึ้งเป็นหลักสูตรท้องถิ่นสู่การเรียนและปฏิบัติจริงกับ คนทั่วไป,ชั้นปฐม,ชั้นอนุบาล
  2. ขยายผลให้ความรู้ผึ้งเป็นตัวเสริมพลังให้การรณรงค์การทำเกษตรยั่งยืนขยายผลไปตามจำนวนผึ้งที่เพิ่มขึ้น ผลผลิตทั้งของเกษตรและจำนวนน้ำผึ้งที่สูงขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
  • การลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ทั้งชุมชนด้วยการเลี้ยงผึ้ง
  • ทุกครัวเรือนปลูกพืชผักกินเองและมีแปลงผักตัวเองดูแลสุขภาพและลดรายจ่าย
  • ครัวเรือนผลิตและใช้ผลผลิตสินค้าทดแทน เพื่อลดรายจ่ายครัวเรือน
  • 50 ครัวเรือนต้นแบบ มีการทำบัญชีครัวเรือนเพื่อจัดการตนเองเรื่องรู้ รายรับ-รายจ่ายตัวเอง
  • ครัวเรื่อนออมทรัพย์สัจจะวันละบาทเพื่อไว้เป็นสวัสดิการในยามเจ็บป่วยทุกครัวเรือนต้นแบบ
  • สมุดสวัสดิการ 50 ครัว
  • บัญชีครัวเรือน 50  ครัว

ชุมชนจัดการตนเองต้องเพิ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ตนถนัดจนทุกคนพึ่งตนเองได้ด้วยการร่วมคิดร่วมทำ และต้องทำอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
  • การรณรงค์โครงการสืบชะตาคลองนาท่อมด้วย 4 กิจกรรม(เก็บขยะ ปลูกไม้ ปล่อยปลา ขยายเขต)ดูแลระบบสิ่งแวดล้อมทั้งระบบ
  • การปลูกไม้ ตลาดจนปลูกผัก  มุ่งเน้น การลด ละ เลิก การใช้สารเคมีทุกชนิด
  • การจัดการขยะ  มุ่งเน้น การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม  ด้วยวิธีคัดแยกขยะ
  • ปล่อยปลา เพื่อเป็นแหล่งอาหารของชุมชน
  • ขยายเขต เป็นการขยายทำทั้งพื้นที่ตำบล ที่เป็นแหล่งน้ำสาขา พื้นที่สาธารณะ รวมทั้งงานรณรงค์สร้างจิตสำนึกเรื่องสิ่งแวดแวดล้อม
  • แหล่งน้ำทุกแหล่งในตำบลนาท่อม
  • ป้ายเขตอภัยทาน
  • เทศบัญญัติของเทศบาลนำมาใช้
  • การรณรงค์อย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างจิตสำนึกกับประชาชนเพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมทั้งระบบกับโครงการสืบชะตาคลองนาท่อมและการเลี้ยงผึ้ง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
  • การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ต.นาท่อม เช่น
  • ประเพณีการแข่งขันเรือพายประจำปี ในวันสงกรานต์ 13-15 เมษายน ทุกปี ลดอุบัติเหตุได้เนื่องจากรณรงค์ให้คนท่องเที่ยวในชุมชน
  • รณรงค์ดูแลความสะอาดรักษาแหล่งน้ำในชุมชน คือ คลองนาท่อม ร่วมกัน 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ 6,7,8 ด้วยกิจกรรมครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ที่รณรงค์อย่างต่อเนื่อง
  • ประเพณีทำบุญตักบาตร,รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่,และงานเดือนสิบ
  • คลองสะอาดขึ้น ปลามีจำนวนมากขึ้นจากการมีเขตอภัยทาน, จำนวนคนร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น

รณรงค์และทำกิจกรรมกับคลองอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

การเพาะพันธุ์พืชผักพื้นบ้านหายาก,และพืชที่นิยม, การแปรรูปผลผลิต,รวมกลุ่มในการขายในงานกิจกรรมทั้งในและนอกชุมชนกับตลาดเขียว พื้นที่คนรักษ์สุขภาพ

กลุ่มสวนผักฯ

ทำอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มรายได้ และรักษาพันธุ์ไม้พื้นบ้านหายาก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
  • ตลาดเขียว ตลาดนัดคนรักษ์สุขภาพ
  • เต้นแอโรบิกทุกวันตอนเย็น
  • ตลาดหูยานสะพานคนเดิน
  • ตลาดอนามัยวันพุทธแรกของเดือน

ทำอย่างต่อเนื่องรวมทั้งขยายผู้ผลิตและผู้บริโภค

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  • มีการประชุมทุกวันที่ 10 ของทุกเดือน
  • แต่ละกลุ่มมีกฎกติกากลุ่ม เช่น กลุ่มผึ้ง  กลุ่มผัก  กลุ่มสินค้าทด กลุ่มออมทรัพย์, กลุ่มกองทุนสวัสดิการ.
  • รายงานการประชุม
  • ระเบียบข้อบังคับ

รักษากติกาเพื่อร่วมทำให้ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
  • นโยบายสาธารณะในระดับชุมชน เช่น กำหนดเขตอภัยทาน 3 หมู่บ้าน ม.6,7,8  ห้ามจับปลาในคลองนาท่อม
  • ห้ามทิ้งขยะในแหล่งน้ำ
  • การแยกขยะในครัวเรือน
  • การขายสินค้าต้องมีการรวมผลผลิตและมีตัวแทนมาขายเป็นกลุ่ม
  • คลองสะอาดขยะริมคลองลดลงจากการมีจิตสำนึกและจำนวนปลาที่เพิ่มขึ้นเพราะไม่มีขโมย

ป้ายรณรงค์และเพิ่มกิจกรรมเสริมเพื่อสื่อสารสร้างจิตสำนึกไม่มีบทลงโทษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  • เชื่อมโยงกับอนามัยบ้านนาท่อมในการให้ อสม.มาเรียนรู้และร่วมรณรงค์ตลาดเขียวเป็นหมู่บ้านเปลี่ยนพฤติกรรม
  • เทศบาลตำบลนาท่อมร่วมเรียนรู้และหนุนเสริมการปลูกผักปลอดสารและเรื่องผึ้ง
  • ศูนย์พัฒนาครอบครัว รณรงค์ใช้จักรยานดูแลสิ่งแวดล้อมช่วยเก็บขยะ
  • เกษตรสหกรณ์หนุนเสริมการศึกษาดูงานเพิ่มและหนุนเสริมเมล็ดพันธุ์,พันธุ์ปลา,และไก่
  • โครงการสร้างสุขสู่เมืองลุงน่าอยู่ให้การสนับสนุนการทำหลักสูตรผึ้ง
  • สภาเด็กและเยาวชนตำบลนาท่อมร่วมรณรงค์
  • หมู่บ้านเปลี่ยนพฤติกรรมตรามาตรฐานสินค้าปลอดภัยและตลาดเขียว
  • ศูนย์พัฒนาครอบครัวร่วมพัฒนาศักยภาพเด็กใช้จักรยานรงค์รวมคนทำกิจกรรม
  • เชื่อต่องานเพื่อบูรณาการกิจกรรมอื่นเข้าด้วยกันได้ทำให้ ตอบตัวชี้วัดได้หลายหน่วยงาน เช่น โครงการตลาดนัดเพื่อคนรักษ์สุขภาพ หรือตลาดเขียว
  • อนามัยได้ชุมชนเปลี่ยนพฤติกรรม
  • เทศบาลได้การรณรงค์การดูแลสิ่งแวดล้อมของตำบล
  • ศูนย์พัฒนาครอบครัวได้รวมครอบครัวมาร่วมกิจกรรมเพื่อสุขภาพ
  • พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ความรักความสมานฉันท์ในชุมชน
  • สภาเด็กและเยาวชนได้พื้นที่ดี ทำกิจกรรม
  • สรุปทำ1 กิจกรรมได้หลายอย่าง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • การบวนการเรียนรู้และทบทวนแผนชุมชนเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาปีต่อไป
  • การทำแผนยุทธศาสตร์
  • การทบทวนแผนชุมชน
  • การทำแผน การใช้แผน การติดตามแผน ให้เป็นรูปธรรม การประเมินแผน และมีความเชื่อแผนแก้ปัญหาชุมชนได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
  • ชุมชนเกิดการรวมตัว  ร่วมมือ มากยิ่งขึ้นเป็นตัวอย่างกับชุมชนอื่นได้เช่น การไปดูงานที่ คีรีวงศ์เรื่อง การจัดการศูนย์ท่องเที่ยว ,ด้านอาชีพ, การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เมื่อกลับมาก็มาทำในชุมชน
  • ศูนย์ประสานงาน ในชุมชน  ,โรงเรียนผึ้ง ,ที่ทำการกำนัน.และเทศบาลตำบลนาท่อม เมื่อจะมาดูงานหรือมาท่องเที่ยวให้ติดต่อได้จากศูนย์
  • ต้องการพัฒนาศักยภาพให้เกิดความต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ,โดยการจัดการให้เกิดศูนย์ประสานงานชุมชน,และต้องการพัฒนาระบบสหกรณ์ขึ้นเพื่อรองรับการจัดการตนเองอย่างเป็นรูปธรรม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • มีการสื่อสารผ่านหอข่าว,ไวนิล,วิทยุ และการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง
  • ตลาดเขียว
  • จำนวนคนมาเรียนรู้เพิ่มขึ้นดูได้จากทะเบียน
  • การออกงานขายผลิตภัณฑ์ในงานวัด,งานนิทรรศการ
  • ต้องการพัฒนาให้เป็นปกติแก้ปัญหาด้านสุขภาพ,ด้านเศรษฐกิจได้จริง ด้วยระบบรวมศูนย์บริหารจัดการด้วยระบบสหกรณ์
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

ประชาชนให้ความร่วมเมือในการรณรงค์ ,การประชุมทุกวันที่ 10 ทุกเดือน

บทบาทหน้าที่ของสภาแกนนำหรือกรรมการหมู่บ้านที่แบ่งบทบาท

พัฒนากระบวนการต่อไปจนแก้ปัญหาชุมชนได้โดยให้ศูนย์ประสานงานเป็นศูนย์รวมจัดการข้อมูลของชุมชนและพัฒนาศักยภาพคนในศูนย์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
  • การร่วมใช้ฐานข้อมูลสารปนเปื้อนในเลือดจากแผนสุขภาพมาใช้ในการขับเคลื่อนขยายผลโครงการ
  • จัดทำโครงสร้างและแบ่งบทบาทหน้าที่
  • รางวัลกำนันแหนบทองคำ
  • ต้องพัฒนาต่อเนื่องเพราะเป็นเรื่องใหม่และเรื่องยากสำหรับชาวบ้านในการจัดการข้อมูลชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • กลุ่มสภาแกนนำหรือ กรรมการหมู่บ้าน ที่คัดเลือกจากแกนนำคุ้มบ้านเป็นตัวแทนในการสื่อสารก่อน-หลังทำกิจกรรม
  • เข้าร่วม ครม.น้อย  ของผู้ว่าฯ  เมืองลุงพอเพียง
  • พัฒนายกระดับ ขยายผลภูมิปัญญาเลี้ยงผึ้งฟื้นสิ่งแวดล้อม ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีกับ พืชผลผลิต เป็นโรงเรียนผึ้ง มีหลักสูตรผึ้ง
  • มีการรวมคนให้ออกมาทำกิจกรรมได้เพิ่มทุกกิจกรรมที่ที่ชุมชนจัดขึ้น
  • กำนันแหนบทองคำปี 2557
  • การประชาสัมพันธ์หมู่บ้าน เช่น ตลาดเขียว,พื้นที่นี้ดีจังของสภาเด็กและเยาวชน
  • ออกรายการวิทยุร่วมกับผู้ว่าฯในการขยายผลผึ้ง

สร้างและพัฒนาผลงานต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • ชุมชนมีการรณรงค์เก็บขยะอย่างสม่ำเสมอ
  • โครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์
  • โครงการสืบชะตาคลองนาท่อม
  • โครงการพื้นที่ดี ของสภาเด็กและเยาวชน

ทุกโครงการทำอย่างต่อเนื่องไม่เสร็จครั้งเดียว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  • ชุมชนหูยาน ดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
  • รางวัลชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงระดับจังหวัด
  • ขยายผลดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
  • ชุมชนมีตลาดเขียวเพราะความรัก ห่วงใย ใส่ใจสุขภาพของคนอื่น และสมาชิกในครอบครัว

ผลผลิตเพื่อสุขภาพนำมาขายในร้านค้าชุมชน และร้านขนมจีนในพื้นที่

  • รณรงค์ขยายผลต่อเนื่องให้คนเกิดความตระหนัก รักและห่วงใยใส่ใจเรื่องสุขภาวะชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

โรงเรียนผึ้งและตลาดเขียว

จำนวนครั้งที่จัด

พัฒนาหลักสูตรผึ้ง,รณรงค์เรืองสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพผ่านการเลี้ยงผึ้ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ