ชุมชนหูยาน บ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง

2.1 ประชุมเก็บข้อมูลผึ้งพัฒนาการเลี้ยงผึ้งเป็นหลักสูตรชุมชน ครั้งที่ 15 มกราคม 2557
5
มกราคม 2557รายงานจากพื้นที่ โดย thawonr kongsri
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมคณะทำงานทำหลักสูตรผึ้งเป้นหลักสูตรท้องถิ่นครั้งที่ 1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คุยกรอบเนื้อหาของหลักสูตรท้องถิ่น  ชื่อหลักสูตร “ ผึ้ง ภูมิปัญญาฟื้นชุมชน”
-วิธีดำเนิน ดำเนินการมากว่า 3 ครั้ง 1.ตั้งคณะทำงานและสร้างความเข้าใจ 2.กำหนดตารางทำงาน ถอดบทเรียน ทำชุดความรู้  ทำกรอบหลักสูตร เสนอให้อาจารย์ผู้มีความชำนวนช่วยเติมเต็มเพื่อให้หลักสูตรใช้งานได้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปโครงสร้างการเขียนหลักสูตรผึ้งเป็นหลักสูตรท้องถิ่น 1. ชื่อหลักสูตร “ ผึ้ง ภูมิปัญญาฟื้นชุมชน” 2. ความสำคัญ 3. จุดมุ่งหมาย 4. วัตถุประสงค์ 1. การเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ 2. การเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในปฏิบัติจริง 3. การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกัน 4. การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาศักยภาพ 5. เนื้อหาหลักสูตร 1. มีกี่ชนิด 2. สภาพแวดล้อมบริบท 3. รังผึ้ง(อุปกรณ์การเลี้ยงผึ้ง) 4. การเลี้ยงดูการดูแล  การวาง ทิศทางการวางรัง
5. การเก็บน้ำผึ้ง (ผลิตภัทฑ์) 6. ประโยชน์ที่เกิดขึ้น(ความ 7. ผลกระทบเชิงบวก(ทำเรื่องเดี่ยวที่ได้หลายเรื่อง 8. สิ่งรบกวน 9. ผึ้งกับภูมิปัญญา 10. ผึ้งกับสิ่งแวดล้อม 11. ผึ้งกับเศรษฐกิจ 12. ผึ้งกับ 13. การดูแล 14. การเก็บ 6. เวลาเรียน 7. แหล่งเรียนรู้ และสื่อประกอบการเรียน 8. การวัดและประเมินผลการเรียน 9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 10. โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร คณะผู้เสนอจัดทำหลักสูตร
1. นายถาวร  คงศรี  นักวิชาการตำบลนาท่อม ผู้รับผิดชอบ 2. นางบุญเรือง  แสงจันทร์ เจ้าของแหล่งเรียนรู้ การเลี้ยงผึ้ง คณะทำงาน 3. นายสมนึก  นุ่นด้วง  นักวิชาการตำบลนาท่อม คณะทำงาน 4. นายอนุชา  เฉลาชัย  กำนันตำบลนาท่อม คณะทำงาน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 17 คน จากที่ตั้งไว้ 35 คน
ประกอบด้วย

-กลุ่มเลี้ยงผึ็งบ้านหูยาน จำนวน 10 คน -อาจารย์ผู้มีความรู้เรื่องผึ้ง  2 คน -นางบุญเรือง  แสงจันทร์ วิทยากร  1 คน -ผู้สนใจเรื่องเลี้ยงผึ้ง 4 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การทำหลักสูตรต้องใช้นักวิชาการและต้องถอดบทเรียนก่อนดังนั้งมีปัญหาเรื่องงบประมาณ  วิธีแก้ ของบประมาณเพิ่มจากโครงการสร้างสุขสู่เมืองลุงน่าอยู่จำนวน  20,000 บาทเพื่อทำให้หลักสูตรใช้งานได้กับชุมชน กับโรงเรียนวัดนาท่อม

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวจุรีย์ หนูผุด
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี