task_alt

อาสาสมัครฝ่ายพลเรือน เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติเพื่อสุขภาพ

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ อาสาสมัครฝ่ายพลเรือน เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติเพื่อสุขภาพ

ชุมชน ตำบลเขาชัยสน

รหัสโครงการ 56-00549 เลขที่ข้อตกลง 56-00-0730

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 31 กรกฎาคม 2557

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กรกฎาคม 2556 ถึงเดือน สิงหาคม 2556

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างความเข้าใจคณะทำงาน

วันที่ 7 สิงหาคม 2556 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างความเข้าใจกับสมาชิก และ รับทราบการจัดการโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานและสมาชิกได้รับทราบการจัดกิจกรรมและแบ่งมอบหน้าที่เพื่อเตรียมตัวในการทำกิจกรรมต่อไปทุกๆกิจกรรมจนเสร็จโครงการ มีสมาชิกที่เข้าร่วม 32 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดการประชุมสมาชิก จำนวน 30 คน เพื่อรับทราบ การจัดการโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

ได้มีการประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจ ในการทำกิจกรรมที่คณะทำงานและสมาชิก อปพร. ทุกคนจะต้องรับรู้ เพื่อที่จะช่วยกันขับเคลื่อนการทำกิจกรรมของโครงการต่อไปการประชุมในการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 1  ณ ที่ห้องประชุม อบต.เขาชัยสน  วันที่ 7 สิงหาคม  2556 โครงการ  “อาสมัครฝ่ายพลเรือน เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติเพื่อสุขภาพ"

สิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ได้กล่าวเรื่องการจดแจ้งสภาองค์กรชุมชนเมื่อปี  พ ศ.2552  ก็พยายามที่จะหางบประมาณมาให้กลุ่มต่างๆได้จัดทำเป็นแผนงาน ที่ผ่านมาก็ได้ สมาชิก 7 หมู่บ้านที่ได้เข้ามาเป็นสมาชิก ซึ่ งบประมาณครั้งล่าสุดก็ได้มีการจัดทำโครงการสำรวจข้อมูลที่ดินอยู่ในระหว่างการดำเนินการ และต่อมาก็ได้มีการเสนอโครงการเพิ่มขึ้นมาอีก 1 โครงการ โดยสิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ได้มาพูดคุยปรึกษาหารือกับ ประธาน อปพร.น.ส.ศิริณี คงขาว และ รองประธาน นายสุทิน  คงเอียด ถึงเรื่องปัญหาของ อ พ ป ร.ที่ยังไมมีอุปกรณ์ในการสื่อสารและได้ร่วมกันเสนอโครงการขึ้นมาเพื่อที่จะให้สมาชิกมีการทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้นโดยงบประมาณที่ได้มานั้นทาง สสส.ได้แบ่งงบประมาณออกเป็น 3 งวดและในแต่ละงวดต้องใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามกิจกรรมที่ได้เสนอให้กับ สสส.สมาชิกที่รับเครื่องมือสื่อสารไปแล้วนั้นสามารถที่จะใช้อุปกรณ์นั้นๆให้เกิดประโยชน์ และการจัดกิจกรรมเป็นการปฏิบัติตามภารกิจดังนี้ ภารกิจที่ 1 เพื่อสร้างความเข้าใจ ภารกิจที่ 2การตั้งศูนย์รับแจ้งเหตุเรื่องภัยพิบัติโดยจะจัดตั้งศูนย์รับแจ้งเหตุที่ บ่อน้ำร้อน การจัดตั้งวิทยุชุมชนในการกระจายข่าวต่างๆ  ณ บ้านเลขที่ 111หมู่ที่ 3 ต.เขาชัยสน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง รวมถึง การให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ ทบทวนบทเรียนและความพร้อมของสมาชิกก่อนที่จะมีการใช้วิทยุปฏิบัติสื่อสารจริง ตลอดถึงการสำรวจจุดเสี่ยงภัยในตำบลเขาชัยสน เช่นภัยพิบัติน้ำท่วม  ทางโค้งอันตราย ภูเขาถล่ม ฯลฯ  การฝึกซ้อมช่วยเหลือผู้ที่บาดเจ็บจากภัยพิบัติในทุกๆเรื่องและในการฝึกซ้อมกิจกรรมนั้นก็ได้เชิญ ทางสำนักงานนายก อ บ ต. หน่วยงานจากโรงพยาบาล และผู้ใหญ่บ้านมาร่วมกันทำกิจกรรมด้วย มีการจัดเวทีเผยแพร่กิจกรรม จำนวน 5 ครั้ง เพื่อที่จะให้ อ พ ป ร.ออกไปแสดงความคิดเห็น และเผยแพร่กิจกรรมที่ได้ดำเนินผ่านมาให้สังคมได้รับทราบ กิจกรรมสุดท้ายก็จะเป็นการสรุปบทเรียนในสิ่งที่ทำมานั้น ในระยะเวลา 1 ปี นั้นว่าผลจากที่ได้ทำกิจกรรมนั้นก่อให้เกิดผลประโยชน์มากน้อยเพียงใดและในการทำกิจกรรมนั้นสมาชิกแต่ละคนเป็นอย่างไรให้ความร่วมมือหรือไม่และเครื่องมือสื่อสารที่รับไปแล้วได้ใช้ให้เกิดประโยชน์มากน้อยเพียงใดในการทำกิจกรรมทุกกิจกรรม

จุดประสงค์สำคัญคือต้องการที่จะให้กลุ่มสมาชิก อ พ ป ร. มีความเข้มแข็งมีความรักสามัคคี ปรองดองกัน ในเรื่องของการทำกิจกรรมนั้น สิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ก็ได้มาปรึกษาท่านหัวหน้าป้องกันท่านก็เห็นด้วยกับโครงการนี้เพื่อเป็นการที่จะให้ชาวบ้านช่วยเหลือตนเองและเป็นการช่วยเหลือหน่วงงานทางราชการอีกทางหนึ่ง

และในที่ประชุมก็ได้เชิญท่านนายก อ บ ต. เขาชัยสน มาร่วมประชุมเพื่อที่จะให้ข้อคิดเห็นและแนะนำแนวทางในการทำงานให้กับสมาชิก อ พ ป ร.โดยจะเป็นแนวทางเกี่ยวกับการช่วยป้องกันสาธารณภัยเพื่อช่วยกันปกป้องสังคมอยู่ตลอดเวลา  และสิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ก็ได้เสนอให้สมาชิกช่วยเสนอคณะทำงานกองเลขาที่จะมาคอยขับเคลื่อนงานในการทำกิจกรรมแต่ละครั้ง ที่ประชุมได้เสนอบุคคลต่อไปนี้ คือ

  1. นางสาว ศิริณี  คงขาว ประธานคณะทำงาน
  2. นาย สุทิน คงเอียดคณะทำงาน  ผู้รับผิดชอบโครงการ
  3. สิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ คณะทำงาน ที่ปรึกษาโครงการรับผิดชอบการเบิกจ่ายเงิน
  4. นาย บุญล้อม  ผอมขวัญ คณะทำงาน วิทยากร/ช่างภาพ
  5. นางสาว สุนารี บุญรัตน์ คณะทำงาน เลขา/การเงิน
  6. นายบุญเติม  ส่งขาว คณะทำงานประสานงาน
  7. นายวิเชียร  ซุ้ยขาวคณะทำงาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์
  8. สมาชิก อปพร.ทุกคนเป็น  คณะทำงาน
  9. นายนิพันธ์  เมืองสง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน เป็นที่ปรึกษาและให้การสนับสนุน
  10. นายพรโชค  จันทร์เหลือง ป้องกันฝ่ายพลเรือน อบต.เขาชัยสน ให้การสนับสนุนและเป็นที่ปรึกษา

ในส่วนของวิทยุสื่อสาร นั้นก็ได้มีการเสนอในที่ประชุม 2ข้อคือ  สมควรที่จะให้กับสมาชิกที่ได้มาประชุมในวันที่ 7ส.ค. ทั้งหมด    สมควรที่จะต้องกระจ่ายให้กับทุกหมู่บ้านก่อน  มติที่ประชุมก็ได้เสนอให้กับสมาชิกที่ได้มาประชุมในวันที่ 7ส.ค.ก่อน  หลักฐานในการขอรับวิทยุสื่อสาร สำเนาทะเบียนบ้าน  สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน กฎกติกาในการใช้วิทยุสื่อสารห้ามนำไปในวงเหล้า    เมื่อได้ลาออกจาก อ พ ป ร.ต้องคืนเครื่องกลับทันทีเพื่อให้สมาชิกคนอื่นได้ใช้ต่อไป ห้ามใช้ส่วนตัวต้องใช้ระบบผ่านศูนย์ก่อนทุกครั้ง  และได้มีการแบ่งหน้าที่ต่างๆ ของคณะทำงาน คือ

  1. นางศิริณี  คงขาว  ประธานโครงการ
  2. นายสุทิน  คงเอียด  รองประธาน
  3. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์  ที่ปรึกษาโครงการ
  4. นายบุญล้อม  ผอมขวัญ  ที่ปรึกษาโครงการ
  5. นางสาวสุนารี  บุญรัตน์  เลขา

มีสมาชิก อปพร.ที่เข้าร่วมในการประชุมจำนวน  24 คน คือ

  1. นางสาวศิริณี  คงขาว
  2. นายสุทิน คงเอียด
  3. นางอุบล  ยั่งยืน
  4. นายบุญเสริม  ทิพย์ขุนราช
  5. นายเจริญ ส่งไข่
  6. นายแฉล้ม รองพล
  7. นางสะหรอ บุตรรักษ์
  8. นางสมทรง เอียดเส็ง
  9. นางสมศรี คงมา
  10. นางสาวประทุม  หนูปาน
  11. นางสาววิลาศ  พตพันธ์เลิศ
  12. นายเลียบ ขุนกำแหง
  13. นางกิตติกา  ทองเมฆ
  14. นายวิเชียร  ซุ้ยขาว
  15. นางน้อย  เทียบพุฒ
  16. นายบุญเติม  สังขาว
  17. นายบุญร่วม  สงไข่
  18. นางวรรณณี  ไชย์ณรงค์
  19. นายสุวรรณ  นวลแป้น
  20. นายจวน  นวลแป้น
  21. นางปรีดา  บัวชุม
  22. นายสมจิตร  วรพันธ์
  23. นางอะมิน๊ะ  เหมือนกู้
  24. นายคล่อง  ชูแจ่ม

มีภาคีที่เข้าร่วมจำนวน 8 คน คือ

  1. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์ ประธารสภาองค์กรชุมชนตำบลเขาชัยสน
  2. นายบุญล้อม  ผอมขวัญ รองประธารสภาองค์กรชุมชนตำบลเขาชัยสน
  3. นายเสนอ  ชูแจ่ม  ส.อ บ ต.เขาชัยสน
  4. นายนิพันธ์ เมืองสง  นายก อ บ ต.เขาชัยสน
  5. นายสุชิต  ชูเชิด  รองนายก อ บ ต.เขาชัยสน
  6. นางสาวสุนารี  บุญรัตน์  คณะทำงานโครงการ
  7. นางปิยะวรรณ  ชูแสง  ภาคีร่วม สมาชิกสภาองค์กรชุมชนตำบลเทศบาลเขาชัยสน
  8. นางจำนง  คงเอียด แม่บ้าน
  9. นายพรโชค  จันทร์เหลือง ป้องกันฝ่ายพลเรือน อบต.เขาชัยสน เป็นภาคีร่วม

 

30 32

2. จัดตั้งศูนย์รับแจ้งเหตุเตือนภัยพิบัติ

วันที่ 8 สิงหาคม 2556 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อจัดตั้งศูนย์วิทยุเตือนภัย และจัดให้มีศูนย์วิทยุรับแจ้งเหตุจำนวน 1 แห่ง สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติ เครือข่ายสมาชิก จากสมาชิกวิทยุสมัครเล่นและวิทยุประชาชน 245 เครื่องแดง จำนวน 30 คน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีศูนย์วิทยุรับแจ้งเหตุตามแผนที่ตั้งไว้จำนวน 1 แห่ง และสามารถรับส่งสัญญาณได้จริง มีสมาชิกประจำศูนย์ ผลัดเปลี่ยนกัน วันละ 2 คน ใช่องความถี่ในการ รับ-ส่งเหตภัยพิบัติ คือ 245925 mhz.

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดตั้งศูนย์วิทยุ ติดตั้งเสาอากาศ รับแจ้งเหตุและเตือนภัย

กิจกรรมที่ทำจริง

สมาชิกช่วยกันติดตั้งเสาอากาศวิทยุในการรับส่งสัญญาณจากสมาชิก มีสมาชิก ต.หานโพธฺ์ เข้าร่วมช่วยในการยกเสาอากาศ รับ - ส่ง สัญญาณ และได้มีการรับแจก วิทยุสื่อสารเครื่องแดง ให้กับสมาชิก พร้อมกับติดตั้งเครื่องประจำสถานีเตือนภัยไว้ 1 เครื่อง ขนาด 10 วัต ส่วนเครื่อมืองถือที่ให้กับสมาชิกเป็นเครื่อง ขนาด 5 วัต จำนวน สมาชิกที่รับเครื่องไว้เพื่อแจ้งเหตุเตือนภัยพิบัติจำนวน 15 คน ความถี่ที่ตั้งไว้ในการ รับ-ส่ง เหตภัยพิบัติ คือ ช่อง 75 ความถี่ 245925 mhz.

 

15 15

3. ให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ ทบทวนบทเรียนด้านความรู้และความพร้อมของสมาชิก

วันที่ 16 สิงหาคม 2556 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

นักวิทยุสื่อสาร สามารถพูดคุย คอบรับ การรับ – ส่งข่าว ได้รวดเร็วสมาชิกสามารถแจ้งเหตุให้กับศูนย์รับ โดยฝึกซ้อมการแจ้งเหตุภัยพิบัติ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักวิทยุสื่อสาร สามารถพูดคุย คอบรับ การรับ – ส่งข่าวได้เป็นส่วนมากและอยู่ในระหว่างการฝึกซ้อมการแจ้งเหตุให้กับศูนย์รับ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ฝึกการแจ้งเหตุระหว่างเกิดภัยทบทวนบทเรียนด้านความรู้และความพร้อมของสมาชิก  และการใช้ ว.ต่างๆ ที่เกี่ยวกับการสื่อสาร

กิจกรรมที่ทำจริง

ฝึกการแจ้งเหตุระหว่างเกิดภัย ทบทวนบทเรียนด้านความรู้และความพร้อมของสมาชิก และการใช้ ว.ต่างๆที่เกี่ยวกับการสื่อสาร มีการจัดทำกิจกรรมทั้งหมด 3วัน มีสมาชิก อปพร. เข้าร่วมอบรมทั้งหมด  30 คน มีการบรรยายถึงเหตุการณ์จริงที่ได้บันทึกไว้เป็นวีดีโอเปิดให้สมาดูเกี่ยวกับการเกิดภัยพิบัติที่ผ่านมา จากแหล่งข่าว มีสมาชิก อปพร. ที่เข้าร่วม 25 คนคือ

  1. นายสุเมท โยธารักษ์
  2. นายคล่อง  ชูแจ่ม
  3. นายบุญเสริม  ทิพย์ขุนราช
  4. นายสุกิตด์  พรหมณี
  5. นายวิเชียร  ซุ้ยขาว
  6. นายแฉล้ม  รองพล
  7. นายเลียบ  ขุนกำแหง
  8. นางอะมิน๊ะ  เหมือนกู้
  9. นายบุญเติม  สงขาว
  10. นายสุทิน  คงเอียด
  11. นายบุญร่วม  สงไข่
  12. นายใจ  สังนก
  13. นางสมทรง  เอียดเส็ง
  14. นางอุบล  ยั่งยืน
  15. นางสาววิลาศ  พตพันธ์เลิศ
  16. นายประพันธ์  ชูรอง
  17. นายสากล  ไผ่ทอง
  18. นายสมชาย  โรจชะนะ
  19. นางสะหรอ  บุตรรักษ์
  20. นายจวน  นวลแป้น
  21. นายเอกลักษณ์  บุญมาก
  22. นางสาวศิริณี  คงขาว
  23. นางกิตติกา  ทองเมฆ
  24. นางสาวประทุม  หนูปาน
  25. นางน้อย  เทียบพุฒ

ภาคีและคณะทำงานโครงการที่เข้าร่วมมีทั้งหมด 5 คน คือ

  1. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์  ที่ปรึกษาโครงการ
  2. นายบุญล้อม  ผอมขวัญ  วิทยากร ได้อธิบายถึงวิธีการใช้วิทยุสื่อสาร
  3. นางสาวสุนารี  บุญรัตน์  เลขา
  4. นายสันทิฎฐ์  อินทร์ด้วง  วิทยากรได้อธิบายถึงการพูดวิทยุ และข้อกฎหมายต่างๆ
  5. นางปิยะวรรณ  ชูแสง  เลขาสภาองค์กรชุมชนเทศบาลเขาชัยสน เจ้าร่วมสังเกตุการ

รวม 30 คน

 

30 30

4. สำรวจจุดเสี่ยงภัยพิบัติ

วันที่ 25 สิงหาคม 2556 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสำรวจจุดเสี่ยงภัย

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกสามารถบอกจุดที่เกิดเหตุที่ผานมาในอดีต ในพื้นที่ในหลายหมู่บ้านได้ ทั้งเป็นภัยที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและภัยที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

สมาชิกออกสำรวจจุดเกิดภัย ที่ผ่านมา

กิจกรรมที่ทำจริง

มีสมาชิก อปพร. ลงสำรวจจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่ และสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับภัยพิบัติต่างๆในที่เกิดเหตุในท้องที่ๆผ่านมาได้ มีจำนวนสมาชิก อปพร. ที่เข้าร่วม จำนวน 2 ครั้งๆ ละ 25 คน

  1. นายสุเมท โยธารักษ์
  2. นายคล่อง  ชูแจ่ม
  3. นายบุญเสริม  ทิพย์ขุนราช
  4. นายสุกิตด์  พรหมณี
  5. นายวิเชียร  ซุ้ยขาว
  6. นายแฉล้ม  รองพล
  7. นายเลียบ  ขุนกำแหง
  8. นางอะมิน๊ะ  เหมือนกู้
  9. นายบุญเติม  สงขาว
  10. นายสุทิน  คงเอียด
  11. นายบุญร่วม  สงไข่
  12. นายใจ  สังนก
  13. นางสมทรง  เอียดเส็ง
  14. นางอุบล  ยั่งยืน
  15. นางสาววิลาศ  พตพันธ์เลิศ
  16. นายประพันธ์  ชูรอง
  17. นายสากล  ไผ่ทอง
  18. นายสมชาย  โรจชะนะ
  19. นางสะหรอ  บุตรรักษ์
  20. นายจวน  นวลแป้น
  21. นายเอกลักษณ์  บุญมาก
  22. นางสาวศิริณี  คงขาว
  23. นางกิตติกา  ทองเมฆ
  24. นางสาวประทุม  หนูปาน
  25. นางน้อย  เทียบพุฒ

ภาคีและคณะทำงานโครงการที่เข้าร่วมมีทั้งหมด 5 คน คือ

  1. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์  ที่ปรึกษาโครงการ
  2. นายบุญล้อม  ผอมขวัญ  วิทยากร
  3. นางสาวสุนารี  บุญรัตน์  เลขา
  4. นายสันทิฎฐ์  อินทร์ด้วง  วิทยากร
  5. นางปิยะวรรณ  ชูแสง  เลขาสภาองค์กรชุมชนตำบลเทศบาลเขาชัยสน

ข้อมูลภัยพิบัติที่สมาชิกแจ้งมีดังนี้ จะต้องมีการจัดทำป้ายเพื่อแจ้งให้ชาวบ้านได้รับทราบเกี่ยวกับจุดเสียงภัยตามหมู่บ้านต่างๆ และได้มีการเล่าถึงบทเรียนของภัยพิบัติที่ผ่านมา

  1. เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2554 เกิดน้ำท่วมใน หมู่ที่.4 อ.เขาชัยสนมีน้ำท่วมหนักประมาณ 6วันทำให้สัตว์เลี้ยงของชาวบ้านเสียหายมากเพราะน้ำระบายไม่ทัน ไก่ตายประมาณ 6,000 ตัว เป็ดประมาณ 5,000 ตัว หมูประมาณ 300 ตัว วัวประมาณ 6 ตัว ชาวบ้านวัดใหม่มีน้ำท่วมทั้งหมู่บ้าน
  2. หมู่ 9 บ้านโคกยา ในปี พ.ศ.2554 หมู่บ้านโคกยา ท่ากุน มีน้ำท่วมมากไม่สามารถออกจากบ้านได้เพราะมีน้ำไหลเชี่ยว มีน้ำลึกระดับเหนือศรีษะน้ำท่วมขังประมาณ 3 วัน
  3. หมู่ที่ 13 บ้านนางหลงในปี พ.ศ. 2555 มีน้ำท่วมขังยาวนานเป็นเวลา 1 สัปดาห์โดยเฉพาะทางด้านฝั่งริมคลองน้ำจะดันขึ้นมาขังทั่วทั้งพื้นที่เนื่องจาก ถนนสูง คูน้ำระบายน้ำไม่ทัน มีท่อระบายน้ำที่เล็กเกินไป โดยเฉพราะวัดนางหลงน้ำจะท่วมอยู่เป็นระยะเวลานานที่สุด
  4. หมู่ที่ 6 ตำบลจองถนนมีน้ำท่วมเพราะสร้างถนนขวางทางน้ำมีน้ำทะเลหนุนสูงขึ้นทางน้ำบริเวณริงคลองมีต้นหญ้าขึ้นเต็มพื้นที่ ลมพัดต้นยางพาราล้มเสียหายเป็นจำนวนมาก
  5. หมู่ที่ 8 บ้านหัวหรั่งเมื่อฝนตกหนักน้ำก็จะท่วมที่แม่เปียะน้ำระบายออกไม่คลองตัวทำให้น้ำท่วมถนนรถไม่สามารถผ่านทางได้สะดวกบางครั้งมีน้ำท่วมขังหลายวันโดยส่วนมากจะท่วมทุกปี
  6. หมู่ที่ 12 ตำบลเขาชัยสน มีน้ำท่วมเพราะมีการถมที่ของนายทุนและอยู่ในเขตที่ติดกับถนนเอเซีย ซึ่งตอนฝนตกถนนจะลื่นมากมีรถชนและพริกคว่ำเป็นประจำวันละหลายๆ คันในบริเวณใกล้กัน
  7. หมู่ที่ 3 บ้านออกเขาชัยสน ได้มีหินตกหล่นจากภูเขาซึ่งจะมีเกือบทุกปีบริเวณทางผ่านถนนสายออกเขาตรงถ้ำโนราและถ้ำควาย ต้องตั้งป้ายบอกจุดเสี่ยง

 

30 30

5. เข้าร่วมประชุมกับ สสส ในพื้นที่ๆ สสส จัดขึ้น

วันที่ 30 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 16.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานและการเปิดเว็บตนใต้สร้างสุขพร้อมกับการรายงานกิจกรรมผ่านอินเตอร์เน็ต

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สามารถที่จะเปิดโปรแกรมและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการใด้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

มีนายเสณี จ่าวิสูตรและนางสาวจุรีย์ หนูผุด มาเป็นพี่เลียงในการอบรมในส่วนของกองเลขา อบรมการใช้โปรแกรมรายงานของ สสส มีผู้เข้าอบรมโครงการจำนวน 5 คน ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

มีการฝึกอบรมวิธีการเปิดเว็บและวิธีการรายงานการทำกิจกรรมตามโปรแกรมตนใต้สร้างสุขโดยมีคณะทำงานในส่วนของเลขาได้มีการปฎิบัติการจัดทำรายงานผ่านอินเตอร์เน็ต คือ นางสาวสุนารี  บุญรัตน์ และมีคณะทำงานที่เข้าร่วมรับฝังอีก 4 คน คือ

  1. นายสุทิน  คงเอียด รองประธาน
  2. นางสาวศิริณี  คงขาว  ประธาน
  3. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์    ที่ปรึกษา
  4. นายบุญเติม  สงขาว อปพร

 

2 3

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 13 5                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 213,000.00 95,700.00                  
คุณภาพกิจกรรม 20 16                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

ไม่มี

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายสุทิน คงเอียด 082-8204966
ผู้รับผิดชอบโครงการ