แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพิ่มศักยภาพการจัดการตนเองด้วยกระบวนการสภาชุมชน
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการมานั้งคิดและกำหนดรูปแบบ 2. ผู้นำรุ่นเก่าที่เหลืออยู่มีจิตอาสาจำนวน 20 คน 3. มีพื้นที่กลางคือ มัสยิด 1 แห่ง 4. ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนรู้และเข้าใจกระบวนการภาวะผู้นำและเข้าใจงานที่ขับเคลื่อน 5. ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนได้เข้าร่วมประชุม เดือนละ 1 ครั้ง เชิงคุณภาพ 1. ทำให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการร่วมกันแสดงความคิดเห็นการออกแบบ/กำหนดโจทย์และทำให้เกิดแกนนำจิตอาสารุ่นเก่า/รุ่นใหม่ รวมถึงมีพื้นที่กลาง 2. เกิดความรู้ความเข้าใจการมีภาวะผู้นำที่ดี รู้กระบวนการในการทำงาน

 

 

เชิงปริมาณ

  1. คนในชุมชนที่เป็นแกนนำ30คนมีส่วนร่วมในการมานั้งคิดนั้งคุยร่วมกันวางแผนออกแบบการทำกิจกรรม ร่วมกันตั้งโจทย์เรื่องของกิจกรรมที่จะทำ ร่วมกันกำหนดวันเวลาในการทำกิจกรรม และร่วมกันขับเคลื่อนโครงการตั้งแต่เริ่มจนปิดโครงการ
  2. ผู้นำรุ่นเก่าสามารถฝึกอบรมเยาวชนในการอบรมเรื่องภุมิปัญญาท้องถิ่นให้กับเนาวชนทั้งในและนอกโรงเรียน
  3. มัสยิดเป็นศูนย์รวมในการพูดคุยและทำกิจกรรม
  4. คนในชุมชนที่เป็นแกนนำ30คนสามารถเข้าใจกระบวนการสภาวะผู้นำและสามารถนำไปขับเคลื่อนและปฎิบัติได้
  5. คนในชุมชนที่เป็นแกนนำ สามารถรับรู้ข่าวสารในเรื่องต่างๆของชุมชนนอกจากเรื่องของการจัดกิจกรรมของโครงการ

เชิงคุณภาพ

  1. มีพื้นที่กลางคือมัสยิดเป็นศูนย์กลางของคนในชุมชนที่สามารถทำให้คนเข้าใจงานที่จะขับเคลื่อนและปฎิบัติงานได้
  2. แกนนำเกิดความรู้ความเข้าใจในการเป็นผู้นำที่ดี รู้กระบวนการในการทำงาน สามารถนำไปปฎิบัติได้
2 ส่งเสริมการรวมกลุ่มของเยาวชนเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. เยาวชนร้อยละ 60 มีความสนใจศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน 2. ร้อยละ 80 ของคนในชุมชนรับรู้รับทราบเรื่องราวศิลปะและร่วมพื้นฟูวัฒนธรรมพื้นบ้านให้คงอยู่ 3. ร้อยละ80 ของคนในชุมชน เกิดความรักความสามัคคี เชิงคุณภาพ 1. เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2. คนในชุมชนเกิดความรักความสามัคคี

 

 

เชิงปริมาณ

  1. เยาวชน40คน ได้เรียนรู้เรื่องของศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นลิเกบกและการแปรรูปลูกโหรย (ถั่วขาว )
  2. คนนในชุมชน70คนรับรู้เรื่องของศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นลิเกบกและการแปรรูปลูกโหรย (ถั่วขาว )และสามารถถ่ายทอดให้กับคนรุ่นใหม่ได้
  3. คนในชุมมีความรักความสามัคคีเพิ่มขึ้นในการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นลิเกบกและการแปรรูปลูกโหรย (ถั่วขาว )

เชิงคุณภาพ

  1. เยาวชนหันมาสนใจในการทำกิจกรรมฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นลิเกบกและการแปรรูปลูกโหรยมากขึ้น
  2. การทำกิจกรรมทำให้คนในชุมชนร่วมกันทำกิจกรรมกลุ่มจนเกิดความสามัคคี
3 ส่งเสริมการใช้พืชท้องถิ่นในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนได้รู้ถึงประโยชน์และคุณค่าทางอาหารของลูกโหรย 2. ร้อยละ 70 ของคนในชุมชนได้มีการอนุรักษ์พืชท้องถิ่นในป่าชายเลน เชิงคุณภาพ 1. คนในชุมชนเกิดการเรียนรู้คุณค่าทางโภชนากรการของพืชในท้องถิ่น คือ ลูกโหรย 2. ทรัพยากรในป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

 

 

เชิงปริมาณ

  1. แกนนำคนในชุมชนรู้คุณค่าทางโภชนาการของลูกโหรยและสามารถนำมาแปรรูปเพื่อเป็นอาชีพเสริมให้แก่คนในท้องถิ่น และสามารถถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาแก่เยาวชนได้
  2. คนในชุมชนมีการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน เพื่อดูแลป่าชายเลนร่วมกัน

เชิงคุณภาพ

  1. คนในชุมชนสามรถรู้ถึงประโยชน์และคุณค่าทางอาหารของลูกโหรย
  2. ป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์ จนกลายเป็นแหล่งอาหารของคนในชุมชน
4 เพื่อการบริหารจัดการ และการติดตามประเมิณผลโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

 

 

มีการพบปะร่วมทำกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส. ตั้งแต่ริเริ่มโครงการ การปฐมนิเทศโครงการ การติดตามกิจกรรมโครงการ และการสรุปโครงการ