task_alt

บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร

ชุมชน บ้านไม้มูก หมู่ที่ 5 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 57-01471 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1078

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2557 ถึงเดือน ตุลาคม 2557

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อเรียนรู้วางแผนกิจกรรมของโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการทำงานกับพี่เลี้ยงและ สจรส. มอ. ในเรื่องการบริหารจัดการโครงการ 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ปฐมนิเทศโครงการตามแผนงานของ สจรส.

กิจกรรมที่ทำจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการเพื่อทำความเข้าใจการดำเนินงานโครงการและระบบรายงานผ่านเว็ปไซต์

 

2 2

2. ประชุมทีมคณะกรรมการ

วันที่ 23 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจกับกรรมการและคณะทำงาน มอบหมายหน้าที่่ที่รับผิดชอบ โดยแบ่งเป็นกลุ่มบ้าน มีทั้งหมด 7 กลุ่มบ้าน รับผิดชอบ 70 ครัวเรือน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกัน

 

20 20

3. จัดเวทีร่วมแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นมูลสัตว์โดยภาคชาวบ้าน

วันที่ 13 สิงหาคม 2557 เวลา 11:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อชื้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการ แบ่งละแวกบ้านเป็น 7 กลุ่ม  เพื่อร่วมช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ประชาชนมีความรู้มีทักษะ และแก้ไขปัญหามลพิษทางกลิ่นจากมูลสัตว์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะกรรมการโครงการจัดเวทีร่วมกันแก้ไขปัญหา ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินของโครงการ โดยเชิญพี่เลี้ยงโครงการเข้าร่วมชี้แจงการดำเนินโครงการ  โดยชวนเจ้าของฟาร์มหมู 15 ฟาร์ม ซึงเป็นของ อสม. อบต. ชาวบ้าน และฟาร์มนกกระทา 1 ฟาร์มเพื่อจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นมูลสัตว์โดยภาคชาวบ้าน เจ้าของฟาร์มร่วมทำ กำหนดกติกาชุมชน ช่วยกันแสดงความคิดเห็น เปิดเวทีการเรียนรู้ให้ผู้เข้าร่วมได้สะท้อนกลับด้วยวาจาและการปฏิบัติการจัดการกัน สะท้อนมุมมองเพื่อให้แก้ไขปัญหาโดยชาวบ้านเพื่อชาวบ้าน จัดให้มีการแบ่งกลุ่มบ้านเป็น 7 กลุ่มบ้าน ๆ ละ 10 หลังคาเรือนตามละแวกของชุมชน โดยกำหนดให้มีแกนนำหมู่บ้านเป็นหัวหน้ากลุ่ม กำหนดกติกาให้ทำโครงการ โดยมีเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ร่วมเป็นสมาชิกเพื่อรับรู้ไปพร้อม ๆ กัน และร่วมช่วยกันแก้ไขปัญหานำเสนอภูมปัญญาที่มีในท้องถิ่น  มีตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 70 ครัวเรือน และได้แบ่งครัวเรือนเป็น 7 กลุ่ม ๆ ละ 10 หลังคาเรือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดเวทีร่วมแก้ปัญหา 1.ขั้นเตรียม คณะกรรมการโครงการเตรียมกระบวนการก่อนจัดเวทีเรียนรู้ เพื่อชักจูง และชวนเจ้าของฟาร์มในหมู่บ้านให้เข้าร่วมกับโครงการ โดยศึกษาหาความรู้ ภูมิปัญญาของชาวบ้าน ข้อมูลสมุนไพรในหมู่บ้าน เพื่อนำเสนอในเวทีเรียนรู้ร่วมกับชาวบ้าน 2.ข้ันดำเนินจัดเวที จัดเวทีร่วมกันแก้ไขปัญหา โดยชวนเจ้าของฟาร์มหมู 15 ฟาร์ม ซึงเป็นของ อสม. อบต. ชาวบ้าน และฟาร์มนกกระทา 1 ฟาร์มที่เป็นของนายทุน
เพื่อจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นมูลสัตว์โดยภาคชาวบ้าน เจ้าของฟาร์มร่วมทำ กำหนดกติกาชุมชน ช่วยกันแสดงความคิดเห็น เปิดเวทีการเรียนรู้ให้ผู้เข้าร่วมได้สะท้อนกลับด้วยวาจาและการปฏิบัติการจัดการกัน สะท้อนมุมมองเพื่อให้แก้ไขปัญหาโดยชาวบ้านเพื่อชาวบ้าน จัดให้มีการแบ่งกลุ่มบ้านเป็น 7 กลุ่มบ้าน ๆ ละ 10 หลังคาเรือนตามละแวกของชุมชน โดยกำหนดให้มีแกนนำหมู่บ้านเป็นหัวหน้ากลุ่ม กำหนดกติกาให้ทำโครงการ โดยมีเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ร่วมเป็นสมาชิกเพื่อรับรู้ไปพร้อม ๆ กัน และร่วมช่วยกันแก้ไขปัญหานำเสนอภูมปัญญาที่มีในท้องถิ่น ถ่ายทอดตามบริบทของชุมชน

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะกรรมการโครงการจัดเวทีร่วมกันแก้ไขปัญหา ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินของโครงการ โดยเชิญพี่เลี้ยงโครงการเข้าร่วมชี้แจงการดำเนินโครงการ  โดยชวนเจ้าของฟาร์มหมู 15 ฟาร์ม ซึงเป็นของ อสม. อบต. ชาวบ้าน และฟาร์มนกกระทา 1 ฟาร์มเพื่อจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นมูลสัตว์โดยภาคชาวบ้าน เจ้าของฟาร์มร่วมทำ กำหนดกติกาชุมชน ช่วยกันแสดงความคิดเห็น เปิดเวทีการเรียนรู้ให้ผู้เข้าร่วมได้สะท้อนกลับด้วยวาจาและการปฏิบัติการจัดการกัน สะท้อนมุมมองเพื่อให้แก้ไขปัญหาโดยชาวบ้านเพื่อชาวบ้าน จัดให้มีการแบ่งกลุ่มบ้านเป็น 7 กลุ่มบ้าน ๆ ละ 10 หลังคาเรือนตามละแวกของชุมชน โดยกำหนดให้มีแกนนำหมู่บ้านเป็นหัวหน้ากลุ่ม กำหนดกติกาให้ทำโครงการ โดยมีเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ร่วมเป็นสมาชิกเพื่อรับรู้ไปพร้อม ๆ กัน และร่วมช่วยกันแก้ไขปัญหานำเสนอภูมปัญญาที่มีในท้องถิ่น

 

93 70

4. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

วันที่ 14 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้คณะกรรมการนำความรู้ ความเข้าใจ ระหว่างคณะกรรมการ และคณะทำงาน มอบหมายหมายหน้าที่รับผิดชอบโดยแบ่งเป็นกลุ่มบ้าน มี 7 กลุ่มบ้าน รับผิดชอบ กลุ่มบ้านละ 10 ครัวเรือน รวม 70 ครัวเรือน นำความรู้ความเข้าใจมาแลกเปลี่ยนกัน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

กิจกรรมที่ทำจริง

ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

 

20 20

5. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ที่ชุมชนอื่น

วันที่ 23 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00-13.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้ชาวบ้านมีความรุ้ความเข้าใจในการแก้ปัญหามลพิษทางกลิ่นจากมูลสัตว์ และนำความรู้ความเข้าใจมาช่วยกันแก้ปญหาเองในชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กลุ่มแกนนำพร้อมด้วยตัวแทนบ้าน เจ้าของฟาร์ม ได้รับความรู้ความเข้าใจจากการสาธิตนำสมุนไพรมาทำน้ำหมักชีวภาพและได้นำความรู้นี้มารวมกลุ่มทำน้ำหมักสมุนไพรดับกลิ่นขึ้น ในชุมชน อย่างเข้าใจและถูกวิธีพร้อมด้วยได้เรียนรู้เรื่องการทำแก็ซชีวมวล และปุ๋ยหมักจากมวลสัตว์ และสามารถนำมาจัดกลุ่มทำขึ้นในชุมชนได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

แกนนำชุมชนและตัวแทนชาวบ้าน จำนวน 50 คน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์จากชุมชนอื่นที่มีประสบการณ์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ในการแก้ปัญหาของชุมชน

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะกรรมการชี้แจงรายละเอียดขั้นตอนการแก้ปัญหา โดยการเชิญกลุ่มเป้าหมายไปศึกษาดูงานเปิดเวทีเรียนรู้ ให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้สะท้อนด้วยวาจาและเชิงปติบัติ โดยมีชาวบ้าน เจ้าของฟาร์ม ได้เข้าร่วมเพื่อรับรู้ไปพร้อมๆกันและร่วมช่วยกันแก้ปัญหาโดยการไปเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่มมูลสัตว์จากชุมชนศูนย์กสิรรมธรรมชาติวัดป่ายางที่มีความรู้และประสบการณ์  เพื่อนำความรู้มาแก้ปัญหาในชุมชน

 

50 50

6. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้คณะกรรมการนำความรู้ ความเข้าใจ ระหว่างคณะกรรมการ และคณะทำงาน มอบหมายหมายหน้าที่รับผิดชอบโดยแบ่งเป็นกลุ่มบ้าน มี 7 กลุ่มบ้าน รับผิดชอบ กลุ่มบ้านละ 10 ครัวเรือน รวม 70 ครัวเรือน นำความรู้ความเข้าใจมาแลกเปลี่ยนกัน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด

กิจกรรมที่ทำจริง

ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

 

20 20

7. ฝึกปฏิบัติการทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์

วันที่ 19 กันยายน 2557 เวลา 10:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ฝึกปฏิบัติการทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ชาวบ้านและเยาวชนได้มีการฝึกปฺฏิบัติในการทำน้ำหมักสมุนไพรร่วมกัน โดยร่วมกันร่วมใจกันหาวัสดุและลงมือปฏิบัติร่วมเรียนรู้พร้อมกัน ตัวแทนชุมชนพร้อมด้วยครัวเรือนที่เข้าโครงการรวมจำนวน 70 คน ได้มาร่วมกันฝึกทำน้ำหมักสมุนไพรดับกลิ่น  โดยมีเยาวชนจาก โรงเรียนวัดพระอาสน์เข้ามาร่วมเีรียนรู้และฝึกปฏิบัติร่วมกับชาวบ้าน มีการนำหน่อไม้  หน่อกล้วย ผักบุ้ง และผักสมุนไพรอื่น ๆ มาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผสมกับกากน้ำตาลในอัตราส่วน สมุนไพร 3  ก.ก. กากน้ำตาล 1 ก.ก. ผสมคนให้เข้ากัน  แล้วนำไปหมักในถังพลาสติกใช้ฝาปิด นาน 3 เดือน จะได้เป็นน้ำหมักสมุนไพร  ไว้สำหรับทดลองดับกลิ่นมูลสัตว์  โดยแต่ละครัวเรือนมีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นและละแวกบ้านของตนเองมาร่วมและให้เด็ก ๆ และเยาวชนร่วมฝึกปฏิบัติทำกิจกรรมร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์เพื่อแก้ไขปัญหา

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนชุมชนพร้อมด้วยครัวเรือนที่เข้าโครงการรวมจำนวน 70 คน ได้มาร่วมกันฝึกทำน้ำหมักสมุนไพรดับกลิ่น  โดยมีเยาวชนจาก โรงเรียนวัดพระอาสน์เข้ามาร่วมเีรียนรู้และฝึกปฏิบัติร่วมกับชาวบ้าน มีการนำหน่อไม้  หน่อกล้วย ผักบุ้ง และผักสมุนไพรอื่น ๆ มาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผสมกับกากน้ำตาลในอัตราส่วน สมุนไพร 3  ก.ก. กากน้ำตาล 1 ก.ก. ผสมคนให้เข้ากัน  แล้วนำไปหมักในถังพลาสติกใช้ฝาปิด นาน 3 เดือน จะได้เป็นน้ำหมักสมุนไพร  ไว้สำหรับทดลองดับกลิ่นมูลสัตว์  โดยแต่ละครัวเรือนมีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นและละแวกบ้านของตนเองมาร่วมและให้เด็ก ๆ และเยาวชนร่วมฝึกปฏิบัติทำกิจกรรมร่วมกัน

 

77 77

8. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

วันที่ 10 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้คณะกรรมการนำความรู้ ความเข้าใจ ระหว่างคณะกรรมการ และคณะทำงาน มอบหมายหมายหน้าที่รับผิดชอบโดยแบ่งเป็นกลุ่มบ้าน มี 7 กลุ่มบ้าน รับผิดชอบ กลุ่มบ้านละ 10 ครัวเรือน รวม 70 ครัวเรือน นำความรู้ความเข้าใจมาแลกเปลี่ยนกัน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด

กิจกรรมที่ทำจริง

ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

 

20 20

9. เวทีเรียนรู้จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อสรุปผลงานงวดที่ ๑ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมพวงชุมพู สำนักงานสนับสนุนบริการสาธารณสุข เขต ๑๑ จังหวัดนครศรีธรรมราช

วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพือสรุปงวดงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลงวดงานทั้งหมด ได้เรียนรู้เรื่องทำสมุนไพรดับกลิ่น เรียนรู้ที่พรหมคีรี หลังจากนั้นมาฝึกทำ โดยนำสมุนไพรที่มีในหมู่บ้าน มีเด็กและเยาวชนมาช่วย ได้น้ำสมุนไพรเป็นตัวอย่าง 2 ถังใหญ่ หมักไว้ 3 เดือน เพื่อทำหัวเชื้อ นอกจากทำหัวเชื้อ ชาวบ้านได้นำสมุนไพรในหมู่บ้านมาทำเพิ่มเติม เด็กชอบมาถามว่าทำเมื่อไหร่ เมื่อไหร่ประชุมอีก ได้ประชุมกันทุกเดือน มีสมาชิกและเด็กนำความรู้ไปทำต่อที่บ้าน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

สรุปงวดงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการเวทีเรียนรู้จังหวัดนครศรีธรรมราช     ขั้นตอนที่ ๑ สรุปเอกสารรายงานเป็นรายครั้งที่ทำกิจกรรม ประกอบด้วย รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม หลักฐานเบิกจ่ายเงิน และรูปภาพการทำกิจกรรม     ขั้นตอนที่ ๒ บันทึกกิจกรรมวันนี้ โดยมีหลักฐาน ชื่อผู้เข้าร่วมประชุมในโครงการใบสำคัญรับเงินค่าอาหาร ๗๐๐ บาทจากที่ประชุม และค่าเดินทางของพื้นที่     ขั้นตอนที่ ๓ นำเอกสารให้พี่เลี้ยงโครงการเสนอแนะ     ขั้นตอนที่ ๔ นำเอกสารมาสรุปผลงานงวดกับอาจารย์กำไล สมรักษ์ หรือ พี่เลี้ยงสุดา ไพศาล พริ้นรายงานส่ง สสส ได้

 

2 2

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 34 9                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 178,000.00 55,200.00                  
คุณภาพกิจกรรม 36 27                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ร่วมฝึกการจัดทำแก๊สชีวมวลสาธิต ( 15 พ.ย. 2557 )
  2. ร่วมฝึกการจัดทำปุ๋ยชีวมวล เพื่อนำมาใช้ในกลุ่มปลูกสมุนไพร ( 25 พ.ย. 2557 )
  3. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม ( 10 ธ.ค. 2557 )
  4. แกนนำชุมชน 7 กลุ่มบ้านร่วมกันปฏิบัติการปลูกและใช้สมุนไพร ตามละแวกบ้านตนเอง ( 14 ธ.ค. 2557 )
  5. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม ( 10 ม.ค. 2558 )
  6. จัดเวทีอบรมเยาวชนเรียนรู้การฝึกทักษะภาวะผู้นำ ( 18 ม.ค. 2558 )
  7. สรุปผลงานการทำงานเพื่อนำไปขยายผลดำเนินงาน ( 1 ก.พ. 2558 )
  8. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม ( 10 ก.พ. 2558 )
  9. ชาวบ้านและเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ดำเนินการใช้สมุนไพรที่ผลิตได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นจากมูลสัตว์ ( 20 ก.พ. 2558 )
  10. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม ( 10 มี.ค. 2558 )
  11. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเพื่อให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมทำ ( 20 มี.ค. 2558 )
  12. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม ( 10 เม.ย. 2558 )
  13. สำรวจและประเมินบ้านที่มีการปลูกใช้สมุนไพรในแต่ละกลุ่มบ้าน ( 14 เม.ย. 2558 )
  14. จัดงานวันมหกรรมสมุนไพรบ้านไม้มูก ป้ายนิทรรศการเกี่ยวกับสมุนไพร บ้านต้นแบบ ( 25 เม.ย. 2558 )
  15. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม ( 10 พ.ค. 2558 )

(................................)
นางละมัย ช่วยบำรุง
ผู้รับผิดชอบโครงการ