directions_run

บ้านไกรไทยเป็นชุมชนสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยตำรับสมุนไพร(ต่อยอด)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้บ้านไกรไทยเป็นชุมชนสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยตำรับสมุนไพร
ตัวชี้วัด : 1.1 คณะทำงานบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2.ประชาชนครัวเรือนเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการสำรวจข้อมูลชุมชนร้อยละ 100 1.3 ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้าน ร้อยละ 85 1.4 มีแผนปรับพฤติกรรมสุขภาพด้วยวิถีพื้นบ้าน ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย

 

 

1.คณะทำงานประชุมครบทุกครั้ง ร้อยละ 100

2.ประชาชนครัวเรือนเป้าหมายมีส่วนร่วมในการสำรวจข้อมูลชุมชนร้อยละ 100

3.กลุ่มเป้าหมายปรับพฤติกรรมสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้าน ร้อยละ 90

4.กลุ่มเป้าหมายปรับพฤติกรรมสุขภาพด้วยวิถีพื้นบ้าน ร้อยละ 90

2 2.เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและฟื้นฟูวัฒนธรรมชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.1 มีธนาคารสมุนไพร เพิ่มขึ้น 1 แห่ง 2.2 มีสวนสมุนไพรเพิ่มขึ้น 1 แห่ง 2.3 มีการฟื้นฟู อนุรักษ์ สืบสานภูมิปัญญาประเพณีชุมชนด้านสมุนไพร 1 เรื่อง 2.4 ประชาชนเป้าหมายร่วมประเพณีสืบสานด้านสมุนไพรชุมชน ร้อยละ 85

 

 

1.มีธนาคารสมุนไพร 1 แห่ง

2.มีสวนสมุนไพร 2 แห่ง

3.มีการฟื้นฟู อนุรักษ์ สืบสานภูมิปัญญาประเพณีชุมชนด้านสมุนไพร 1 เรื่อง

4.ประชาชนเป้าหมายร่วมประเพณีสืบสานด้านสมุนไพรชุมชน ร้อยละ 85

3 3.เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและส่งเสริมการแพทย์พื้นบ้าน
ตัวชี้วัด : 3.1 มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น 3 ชนิด คือ ชากระเจี๊ยบ ชาตะไคร้ น้ำยาเอนกประสงค์มะกรูด 3.2 มีกลุ่มแปรรูปสมุนไพรชุมชน เพิ่มขึ้น 1 กลุ่ม 3.3 มีการจัดมหกรรมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้านและสมุนไพร 1 ครั้ง

 

 

1.มีผลิตภัณฑ์สมุนไพรและส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น3 ชนิด คือ ชากระเจี๊ยบ ชาตะไคร้ น้ำยาเอนกประสงค์มะกรูด 2.มีกลุ่มแปรรูปสมุนไพรชุมชนเพิ่มขึ้น 1 กลุ่ม 3.จัดมหกรรมสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้านและสมุนไพร 1 ครั้ง

4 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.หรือ สจ.รส.

 

 

คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรมตามที่ สจรส.กำหนด ร้อยละ 100