แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้มีอาหารสุขภาพ ถูกหลักโภชนาการพอเพียงในครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. แกนนำชุมขนมีการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ประชาชนทุกหลังคาเรือนมีส่วนร่วมในการสำรวจข้อมูลชุมชนร้อยละ 100 3. ครัวเรือนเป้าหมายเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 100 4. เกิดกลุ่มผลิตอาหารให้กับชุมชน 5 กลุ่ม (1)กลุ่มผักปลอดสารพิษผักเกษตรอินทรีย์ (2)กลุ่มเลี้ยงกบแบบภูมิปัญญา (3)กลุ่มเลี้ยงปลาธรรมชาติในบ่อข้างบ้าน (4)กลุ่มเลี้ยงไก่บ้านพันธุ์พื้นเมือง (5)กลุ่มมะนาวพื้นบ้าน

 

 

  1. แกนนำชุมชนมีการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมของของแกนนำชุมชน มีการประชุมอย่างสม่ำเสมอ ร้อยละ 90
  2. ประชาชนทุกหลังคาเรือนมีส่วนร่วมในการสำรวจข้อมูลชุมชน ร้อยละ 100
  3. ครัวเรือนเป้าหมายเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ100
  4. มีกลุ่มผลิตอาหารให้กับชุมชน 5กลุ่ม
2 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมชุมชนในการสร้างความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. มีฐานเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักชุมชน 1 แห่ง 2. ครัวเรือนเป้าหมายทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะครัวเรือน ร้อยละ 80

 

 

  1. มีฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักในชุมชน 1แห่ง
  2. ครัวเรือนเป้าหมายมีการทำำน้ำหมักชีวภาพจากขยะครัวเรือนร้อยละ80
3 เพื่อส่งเสริมกลไกการเรียนรู้ความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. มีตลาดสีเขียว เป็นแหล่งจำหน่ายอาหารปลอดภัย 1 แห่ง 2. มีกติกาทางสังคม 1 เรื่อง 3. มีการจัดเมนูอาหารตามกลุ่มวัย 4. มีมหกรรมตลาดสีเขียว อาหารสุขภาพพอเพียง 1 ครั้ง 5. มีสวัสดิการชุมชน 1 เรื่อง

 

 

  1. เกิดตลาดสีเขียวไว้จำหน่ายอาหารปลอดภัย 1 แห่ง
  2. มีกติกาทางสังคม 1 เรื่อง
  3. มีเมนูอาหารตามกลุ่มวัย 1 ชุด
  4. จัดมหกรรมสุขภาพ "ชีวิตปลอดภัยที่เขาพระบาท"1 ครั้ง
  5. มีสวัสดิการชุมชน 1 เรื่อง
4 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.หรือ สจรส.ม.อ.

 

 

1.โครงการเข้าร่วมกิจกรรมตามที่ สสส.กำหนดทุกครั้ง