จากผืนนา สู่ผืนป่าชายเลนที่ควนโต๊ะเจ๊ะ (ต่อเนื่อง)

ศึกษาภูมินิเวศน์จากนาสู่เล ครั้งที่ 226 พฤษภาคม 2558
26
พฤษภาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย sarawanee
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาภูมินิเวศน์ 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอารีย์ หลังสกุล ได้นักเรียน สภาชุมชน จัดกิจกรรมศึกษาภูมินิเวศน์ ครั้งที่ 2 บริเวณพื้นที่ป่าชายเลนของชุมชน เพื่อให้วิทยากรทำการสาธิตวิธีการตรวจสอบสภาพดินว่ามีความอุดมสมบูรณ์หรือไม่ โดยแยกเป็นดินชายเลน ดินนา และดินนากุ้ง โดยความสมบูรณ์ของดินแต่ละชนิดจะมีแร่ธาตุและสารเคมีสะสมต่างกัน ดินในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีความอุดมสมบูรณ์มาที่สุดเนื่องจากบริเวณป่าชายเลนจะมีน้ำขึ้นน้ำลงทำให้ออกซิเจนในดินได้คายอากาศ มีการทับทบของใบไม้มีการย่อยสลายของตัวเอง ทำให้มีสารอาหารที่เหมาะแก่สัตว์ที่เติบโตในดินอย่างหอยลอกันและหอยอื่นๆ ส่วนดินที่มีสารเคมีมากที่สุด คือดินบริเวณนากุ้ง ซึ่งเป็นดินที่มีการทับถมของสารเคมีจากอาหารกุ้ง สารเร่งการเจริญเติบโตของกุ้ง จนทำบริเวณดังกล่าวไม่สามารถมีต้นไม้ขึ้นได้ เพราะไม่มีสารอาหารที่เหมาะแก่การเจริญเติบโตของต้นไม้ 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการดำเนินกิจกรรมครั้งนี้ ทำให้เด็กเยาวชน ประชาชนทราบถึงความสำคัญของดินที่จะทำให้สัตว์ ต้นไม้มีการเจริญเติบโต หากเราทำสารเคมีมาทิ้งไว้ในบริเวณพื้นที่ป่าชายเลนเป็นประจำก็จะทำให้เกิดการสะสมของสารเคมี ทำให้สัตว์จำพวก กุ้ง หอย ปู ปลา ไม่สามารถมาอาศัยบริเวณนี้ได้ รวมทั้งหากเราไม่ช่วยกันสอดส่องดูแลพื้นที่ของเราก็จะเสื่อมโทรม ดินจะไม่อุดมสมบูรณ์ไม่มีสัตว์ป่าให้เราดูอีกต่อไปในภายภาคหน้า

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 75 คน จากที่ตั้งไว้ 75 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกสภาชุมชน และวิทยากร จำนวน 25 คน นักเรียน จำนวน 50 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
ไม่มี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี