คอกช้างร่วมใจจัดการขยะ…รักสุขภาพ

ขยายครัวเรือนต้นแบบ11 มีนาคม 2558
11
มีนาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย suwannee
circle
วัตถุประสงค์
  1. ประชาชนบ้านคอกช้างที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ในด้านการจัดการขยะที่ถูกต้องร้อยละ 90 2. กำหนดแนวทางกิจกรรมการขยายผลในการจัดการขยะของครัวเรือนต้นแบบแก่ครัวเรือนอื่นๆในพื้นที่
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ลงทะเบียน 09.00 น แจกประกาศนียบัตรพร้อมด้วยถุงผ้าโลโก้จาก สสส มอบให้กับต้นแบบครัวเรือน 40 ครัวเรือน
  2. กิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง ร้อยละ 90
  3. กิจกรรมประชุมตัวแทนครัวเรือนต้นแบบ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ร้อยละ 90 ประชาชนบ้านคอกช้างที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง
  2. มีองค์กรหรือเครือข่ายที่เข้าร่วมในการจัดการขยะ โรงเรียน 1 แห่ง วัด 1 แห่ง
  3. ปริมาณขยะลดลง
  4. ครัวเรือนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายโครงการนำร่อง ไม่น้อยกว่า 40 ครัวเรือน
  5. ชุมชนสะอาด น่าอยู่
  6. ประชาชนสามารถแยกประเภทขยะได้ถูกต้อง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

แกนนำคณะทำงาน 30 คน ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบ 40 ครัวเรือน ครัวเรือนอื่นๆที่สนใจ 10 ครัวเรือน ตัวแทนเด็กนักเรียนจำนวน 40 คน ครูผู้ดูแล ทีมสมาชิกเทศบาล

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-