ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในการรู้จักตนเอง ครัวเรือนและชุมชนและนำไปสู่การวา่งแผนการในการปรับพฤติกรรมในการใช้จ่ายและการพึ่งตนเองโดยใช้การทำบัญชีครัวเรือน เกิดการรวบรวมข้อมูล เข้าใจการวิเคราะห๋ข้อมูล กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้สินครัวเรือนและชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลรายรับ รายจ่ายครัวเรือน 40 ครัวเรือน ที่สามารถแสดงให้เห็นถึงสภาพระดับรายรับ รายจ่าย หนี้สินของครัวเรือน 2. มีการวิเคราะห์ค้นหาสาเหตุ ที่ไปที่มาของรายรับ รายจ่าย และหนี้สิน 3. มีแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ มีการออม ทั้งระดับปัจเจก ระดับครัวเรือน ระดับชุมชน 4. มีเด็กและเยาวชนได้มีโอกาสเรียนรู้ถึงภาระค่าใช้จ่ายของครัวเรือน

สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ตามที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัด โดยมีแนวทางการจัดเก็บตามที่หมู่บ้านได้ร้่วมออกแบบกับทางส่วนราชการที่เข้ามาเป็นพี่เลี้ยงมีการวิเคราะห์ข้อมูลแลจัดทำเป็นแผนลดรายจ่ายครัวเรือน มีครัวเรือนนำร่องที่ทำกิจกรรมลดรายจ่าย ได้แก่การปลูกพืชผักไว้บริโภคในครัวเรือน การเลี้ยงกบ การเพาะเห็ด การปลูกมะนาว การรวมกลุ่มกันทำขนม ทีสำคัญคือในกระบวนการมีเด็กแลเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมตั้งแต่การจัดเก็บข้อมูล การร่วมวงวิเคราะห์ การตรวจครัวเรือน

2 เพื่อหนุนเสริมให้คนในชุมชนมีปฏิบัติการในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ทำสิ่งที่กินและใช้เอง ทั้งระดับชุมชน ครัวเรือนและการรวมกลุ่มกันทำภายใต้การหนุนเสริมขององค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 1. มีกิจกรรมลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ระดับครัวเรือน 40 ครัวเรือน- ทำและใช้สินค้าทดแทน - ทำและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ - ปลูกพืชผัก สำหรับบริโภคในครัวเรือน 2. มีกิจกรรมเพิ่มการออมในกลุ่มที่มีการออม/และมีการออมในกลุ่มที่ยังไม่มีการออม ในครัวเรือน 40 ครัวเรือน 3. มีแหล่งอาหารเพิ่มในพื้นที่สาธารณะได้แก่ พืชผักพื้นเมือง จำนวน3ชนิด3000ต้น

มีครัวเรือนนำร่องที่ทำกิจกรรมลดรายจ่าย ได้แก่การปลูกพืชผักไว้บริโภคในครัวเรือน การเลี้ยงกบ การเพาะเห็ด การปลูกมะนาว การรวมกลุ่มกันทำขนม ครัวเรือนนำร่องทุกครัวเรือนเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ มีการปลูกพืชผักในที่สาธารณะ จำนวน 3000 ต้น

3 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน จำนวน 10 คน 2. มีการประชุมประจำเดือนจำนวน 5 ครั้ง 3. มีทีมในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 5 คน

มีคณะทำงานที่แบ่งงานกันทำตามที่กำหนดไว้ในโครงการ มีการประชุมประจำเดือนทุกดือน มีคณะทำงานติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ5 คน

4 ติดตามการดำเนินงานตามโครงการ
ตัวชี้วัด : - ติดตามการดำเนินงานตามดครงการจากพี่เลี้ยงโครงการ - สนับสนุน หนุนเสริมพัฒนาการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการ

ประชุมร่วมกับ สจรส.ม.อ.จำนวน 3 ครั้ง คือ ประชุมปิดงวด 1 เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ และประชุมปิดงวด 2

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในการรู้จักตนเอง ครัวเรือนและชุมชนและนำไปสู่การวา่งแผนการในการปรับพฤติกรรมในการใช้จ่ายและการพึ่งตนเองโดยใช้การทำบัญชีครัวเรือน เกิดการรวบรวมข้อมูล เข้าใจการวิเคราะห๋ข้อมูล กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้สินครัวเรือนและชุมชน (2) เพื่อหนุนเสริมให้คนในชุมชนมีปฏิบัติการในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ทำสิ่งที่กินและใช้เอง ทั้งระดับชุมชน ครัวเรือนและการรวมกลุ่มกันทำภายใต้การหนุนเสริมขององค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง (3) เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชุมชน (4) ติดตามการดำเนินงานตามโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh