แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.เพื่อให้คนหรือกลุ่มคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. จัดตั้งเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนอย่างน้อย 1 เครือข่าย 2. มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง 3. มีสภาชุมชนศรัทธาในการดูแลและแก้ไขปัญหาของชุมชน 1 สภา 4. มีหลักสูตรการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนโดยชุมชนจัดทำขึ้นเอง 1 หลักสูตร เชิงคุณภาพ 1.เครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนมีความเข้มแข็งและมีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 2.สมาชิกในครัวเรือนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดอย่างสม่ำเสมอ 3.สภาชุมชนศรัทธามีความเข้มแข็งและมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

 

 

  • เกิดเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชน 7 เครือข่าย/กลุ่มบ้านๆละ 7 คนประกอบด้วย ตัวแทนผู้นำชุมชน/กรรมการหมู่บ้าน/อบต., ผู้นำศาสนา/กรรมการมัสยิด , ชรบ. , อสม. , กลุ่มสตรี/แม่บ้าน , เยาวชน และครูตาดีกา/ข้าราชการในพื้นที่ มีบทบาททำหน้าที่ในการดูแลความปลอดภัยและความสงบสุขของชุมชน โดยเฉพาะเรื่องการป้องกันและควบคุมยาเสพติดในชุมชน มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง
    • มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง 2.1 เด็กและเยาวชนต้องไม่เสพหรือดื่มสารเสพติดทุกชนิดในชุมชน กรณีฝ่าฝืน
      ครั้งที่ 1 กล่าวตักเตือน
      ครั้งที่ 2 กล่าวตักเตือนและเรียกผู้ปกครองมาคุยพร้อมให้เด็กและเยาวชนฟังบรรยายธรรมและทำบำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 3 ส่งดำเนินคดีตามกฏหมาย
    • มีสภาชุมชนศรัทธาในการดูแลและแก้ไขปัญหาของชุมชน 1 สภา มีสมาชิก 50 คน ประกอบด้วยผู้นำชุมชน/กรรมการหมู่บ้าน/อบต., ผู้นำศาสนา/กรรมการมัสยิด , ชรบ. , อสม. , กลุ่มสตรี/แม่บ้าน , เยาวชน และครูตาดีกา/ข้าราชการในพื้นที่

เชิงคุณภาพ
1.เครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนมีความเข้มแข็งและมีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
2. สมาชิกในครัวเรือนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดอย่างสม่ำเสมอ
3. สภาชุมชนศรัทธามีความเข้มแข็งและมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง โดยจะประชุมทุกเดือน เดือนละครั้งละ

2 2.เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนได้รับการบำบัดและดูแล
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1.) จัดตั้งเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนอย่างน้อย 1 เครือข่าย 2.)มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง 3.)มีสภาชุมชนศรัทธากำปงตักวาในการดูแลและแก้ไขปัญหาของชุมชน 1 สภา 4.)มีหลักสูตรการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนโดยชุมชนจัดทำขึ้นเอง 1 หลักสูตร เชิงคุณภาพ 1.) เครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนมีความเข้มแข็งและมีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 2.)สมาชิกในครัวเรือนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดอย่างสม่ำเสมอ 3.)สภาชุมชนศรัทธากำปงตักวามีความเข้มแข็งและมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

 

 

  • เกิดเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชน 7 เครือข่าย/กลุ่มบ้านๆละ 7 คนประกอบด้วย ตัวแทนผู้นำชุมชน/กรรมการหมู่บ้าน/อบต., ผู้นำศาสนา/กรรมการมัสยิด , ชรบ. , อสม. , กลุ่มสตรี/แม่บ้าน , เยาวชน และครูตาดีกา/ข้าราชการในพื้นที่ มีบทบาททำหน้าที่ในการดูแลความปลอดภัยและความสงบสุขของชุมชน โดยเฉพาะเรื่องการป้องกันและควบคุมยาเสพติดในชุมชน มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง
    • มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง 2.1 เด็กและเยาวชนต้องไม่เสพหรือดื่มสารเสพติดทุกชนิดในชุมชน กรณีฝ่าฝืน
      ครั้งที่ 1 กล่าวตักเตือน
      ครั้งที่ 2 กล่าวตักเตือนและเรียกผู้ปกครองมาคุยพร้อมให้เด็กและเยาวชนฟังบรรยายธรรมและทำบำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 3 ส่งดำเนินคดีตามกฏหมาย
    • มีสภาชุมชนศรัทธาในการดูแลและแก้ไขปัญหาของชุมชน 1 สภา มีสมาชิก 50 คน ประกอบด้วยผู้นำชุมชน/กรรมการหมู่บ้าน/อบต., ผู้นำศาสนา/กรรมการมัสยิด , ชรบ. , อสม. , กลุ่มสตรี/แม่บ้าน , เยาวชน และครูตาดีกา/ข้าราชการในพื้นที่

เชิงคุณภาพ
1.เครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนมีความเข้มแข็งและมีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
2. สมาชิกในครัวเรือนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดอย่างสม่ำเสมอ
3. สภาชุมชนศรัทธามีความเข้มแข็งและมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง โดยจะประชุมทุกเดือน เดือนละครั้งละ

3 3.เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาว่าด้วยยาเสพติดและนำไปประพฤติปฏิบัติได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1.)เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 มีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาว่าด้วยยาเสพติด 2.)เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนได้รับการบำบัดและดูแล ร้อยละ 80 หรือเท่ากับ 45 คน 3.)เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนร้อยละ 45 สามารถเลิกสารเสพติดได้ 4.)เด็กและเยาวชนติดสารเสพติดรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 15 ของเด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดทั้งหมด เชิงคุณภาพ 1.)เด็กและเยาวชนสามารถนำหลักคำสอนของศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้อย่างต่อเนื่อง 2.)เด็กและเยาวชนที่เลิกสารเสพติดแล้วไม่กลับติดสารเสพติดซ้ำและสามารถกลับตัวเป็นคนดีของสังคมทำให้สังคมยอมรับ

 

 

1.เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และมีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาว่าด้วยยาเสพติด จำนวน 70 คน

-เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง = 20 คน และกลุ่มติดสารเสพติด = 30 คน

-เด็กและเยาวชนกลุ่มปกติ = 10 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71

2.เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนได้รับการบำบัดและดูแล จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 100

3.เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชน สามารถเลิกสารเสพติดได้
-เด็กและเยาวชนที่เลิกได้ = 3 คน

-เด็กและเยาวชนที่ลดละ = 30 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33


4.เด็กและเยาวชนติดสารเสพติดรายใหม่ มี 2 คนเยาวชนทั้งหมด 70 คน คิดเป็นร้อยละ 2.85

เชิงคุณภาพ

1.เด็กและเยาวชนสามารถนำหลักคำสอนของศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้อย่างต่อเนื่อง

2.เด็กและเยาวชนที่เลิกสารเสพติดแล้วไม่กลับติดสารเสพติดซ้ำและสามารถกลับตัวเป็นคนดีของสังคมทำให้สังคมยอมรับ

4 ติดตามสนับสนุนจากสสส.สจรส. และพี่เลี้ยง
ตัวชี้วัด : เข้าร่วมกิจกรรมกับ สจรส.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด มีภาพถ่ายทุกกิจกรรม มีป้ายปลอดบุหรี่ที่สถานที่จัดประชุม ส่งรายงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

 

 

เข้าร่วมทุกครั้ง ส่งรายงานให้สจรส.ม.อ. ตามเวลาที่กำหนด แต่พบว่าต้องมีการแก้ไขและปรับปรุงรายงาน และรายงานการเงินจึงทำให้ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์และถูกต้องไปยัง สสส.ล่าช้า