ร่วมสร้างชุมชนสุขภาวะและท้องถิ่นน่าอยู่บ้านต้นทุเรียน

ประชุมถอดบทเรียน29 ตุลาคม 2558
29
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย binyalima
circle
วัตถุประสงค์

เรียนรู้หลังทำโครงการเพื่อรวบรวมความรู้จากกระบวนการทำงาน เพื่อพัฒนาการทำงานโครงการต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • จัดกิจกรรมการถอดบทเรียน เพื่อรวบรวมข้อมูลการจัดกิจกรรมของหลังทำโครงการ
  • การเตรียมความพร้อม - เตรียมกระบวนการ ออกแบบเครื่องและอุปกรณ์ - เตรียมบรรยากาศให้สงบและผ่อนคลาย ไม่มีสิ่งรบกวนของการคิด เตรียมผู้เข้าร่วมให้พร้อม ไม่มีเรื่องเครียด การพูดคุยกันในเรื่องต่างๆ ก่อนเริ่มกิกิจกรรม
  • เตรียมความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมาย กระบวน บทบาทของผู้เข้าร่วมก่อนเริ่ม
  • เตรียมความทรงจำเพื่อให้ผู้เข้าร่วมเข้าใจที่มาที่ไปของการทำงานร่วมกัน แรงจูงใจที่ได้มาร่วมทำโครงการนี้ เป้าหมายที่ต้องการ กิจกรรมที่ทำว่ามีอะไรบ้างและผลที่เกิดขึ้นจาการทำโครงการ โครงใช้เครื่องมือ สถานีความคิด
  • การวิเคราะห์ความสำเร็จของโครงการและเปรียบเทียบกับผลที่คาดหวัง
  • วิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโครงการ ปัญหาอุปสรรค์ กระบวนการและเทคนิคการทำงาน โอกาสเชิงพัฒนา สิ่งดีๆที่ค้นพบ สิ่งที่ไม่คาดหวัง ผลลัพธ์ความสำเร็จ ข้อเสนอแนะ โดยใช้เครื่องมือผีเสื้อถอดบทเรียน
  • วางแผนการทำงานต่อไป
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการถอดบทเรียน โครงการร่วมสร้างชุมชนสุขภาวะและท้องถิ่นน่าอยู๋บ้านต้นทุเรียน - ทุนบุคคลที่มีในชุชมชน ผู้ใหญ่บ้าน ชาวบ้าน ครู นายกอบต สมาชิกอบต ผู้นำศาสนา เยาวชน ปราชญ ผอ.โรงเรียน พยาบาล นักวิชาการ ข้าราชการ - ทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชน โรงเรียนประถม โรงเรียนมัธยม โรงเรียนเอกชน ปอเนาะ มัสยิด โรงเรียนตาดีกา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - ทุนความรู้ ผ่านการอบรมทางด้านยาเสพติด อบรมการส่งเสริมอาชีพ ค่ายคุณธรรมภาคฤดูร้อน
- เป้าหมาย เด็กในชุมชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้ชุมชนน่าอยู่และเข้มแข็ง เพื่อลดปัญหารายได้ไม่พอใช้ เพื่อลดปัญหาขยะในชุมชน เพื่อส่งเสริมให้คนที่ว่างงานมีงานทำ - กระบวนการและเทคนิคการทำงาน การที่ประชาชนมีส่วนร่วมกิจกรรม นำโครงการเข้าสู่ชุมชน มีการประชุมของคณะกรรมในหมู่บ้าน
การจัดกิจกรรมต่างๆในคนในชุมชนได้เข้ากิจกรรมเช่นการเข้าค่ายคุณธรรมจริยธรรม การจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ทักษะด้านการเกษตรและอาชีพในคนในชุมชน
มีการว่างแผนการทำงาน การจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ การพาคนในชุมชนไปศึกษาดูลงานต่างพื้นที่
- ปัญหาและอุปสรรค์ คณะทำงานขาดความร่วมมือ ขาดความรับผิดชอบ ขาดเครื่องมือในการทำงาน เวลาว่างของคนในชุมชนไม่ตรงกันทำให้เข้าร่วมกิจกรรมได้น้อย เวลาไม่พอ ขาดประสบการในการทำโครงการ - โอกาสเชิงพัฒนา ของแรงกระตุ้นที่สามารถทำให้คนในชุมชนเข้าร่วมมากขึ้น พัฒนาคณะทำงานให้มีความร่วมมือสามัคคีกันมากขึ้นและมีความรับผิดชอบ ออกจัดกิจกรรมควรประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึ่งมากขึ้น จัดกิจกรรมที่ช่วยลดปัญหาขยะของชุมชน - สิ่งดีๆที่ค้นพบ เยาวชนในพื้นที่สามารถร่วมกันเป็นหนึ่งได้ตั้งใจเข้าร่วมกิจกรรมต่าง
- ผลลัพธ์ ความสำเร็จเกิดความสัมพันธ์ของเด็กเยาวชนและประชาชนในหมู่บ้าน ได้รับความรู้ด้านการเกษตร การปลูกพืชผัก การเลี้ยงสัตว์
การสกรีนเสื้อเดโ้เยาวชนที่เข้าค่ายได้รับความด้านศษสนากับการใช้ชีวิตประจำวัน การอ่านดูอาร์ สามารถท่องจำได้ มีการวางแผนการทำงานทุกครั้ง จนทำให้ทำงานสำเร็จ ผู้ใหญ่บ้านสามารถเข้าถึงประชาชนเพิ่มขึ้น - ข้อเสนอแนะ อย่างให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ อยากให้มีการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ขึ้นอีก อยากให้สนับสนุนงบประมาณให้มากขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย
  • คณะกรรมการสถาผู้นำชุมชน 15 คน
  • คณะกรรมโครงการ  7 คน
  • สมาชิกอบต.  2 คน
  • เยาวชน  17 คน
  • ประชาชน  9 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมน้อย

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-