directions_run

บ้านดอนมะปราง มีชีวิตปลอดภัยด้วยเกษตรอินทรีย์

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ประชาชนบ้านดอนมะปราง เรียนรู้วิธีลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ชีวิตปลอดภัยด้วยเกษตรอินทรีย์
ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงานบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ (ประชุมทุกครั้ง ร้อยละ 80) 2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้านร้อยละ 100 3. ชุมชนร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนาร้อยละ 100 4. ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนร้อยละ 100 5. ครัวเรือนเป้าหมายมีส่วนร่วมในการจัดทำแปลงผักชุมชน ร้อยละ 100 6. ครัวเรือนเป้าหมายมีการลดรายจ่ายฟุ่มเฟือย ร้อยละ 50

 

 

1.คณะทำงานบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ (ประชุมครบ 12 ครั้ง ร้อยละ100) 2.ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการจัดทำฐานข้อมูลหมู่บ้าน ร้อยละ 100 3.ครัวเรือนและชุมชนร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนา ร้อยละ 100 4.ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนร้อยละ 100 5.ครัวเรือนเป้าหมายมีส่วนร่วมในการจัดทำแปลงผักชุมชน ร้อยละ 100 6.ครัวเรือนเป้าหมายมีการลดรายจ่ายฟุ่มเฟือย ร้อยละ 60

2 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมชุมชน ปรับวิถีดำรงชีิวิตด้วยเกษตรอินทรีย์
ตัวชี้วัด : 1. ครัวเรือนเป้าหมายนำขยะจากครัวเรือนทำเป็นปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 80 2. มีฐานเรียนรู้ชุมชน 6 ฐานเรียนรุู้

 

 

1.ครัวเรือนเป้าหมายนำขยะจากครัวเรือนทำเป็นปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 90 2.มีฐานเรียนรู้ชุมชน 6 ฐานเรียนรุู้

3 เพื่อส่งเสริมกลไกการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์
ตัวชี้วัด : 1. มีบุคคลต้นแบบและครัวเรือนต้นแบบในการพัฒนา เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2. กลุ่มเป้าหมายแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเข้าร่วมกระบวนการถอดบทเรียน ร้อยละ 80

 

 

1.มีบุคคลต้นแบบและครัวเรือนต้นแบบในการพัฒนา เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2.กลุ่มเป้าหมายแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเข้าร่วมกระบวนการถอดบทเรียน ร้อยละ 80

4 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.หรือ สจรส.ม.อ.

 

 

1.โครงการเข้าร่วมประชุมกับ สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงครบทุกครั้ง (ร้อยละ 100)