หมู่บ้านจัดการสุขภาวะดี วิถีพอเพียง บ้านทุ่งมะปรัง

-ประชุมงวด สสส.ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงานพร้อมพี่เลี้ยงโครงการ28 มีนาคม 2558
28
มีนาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย thungmaprag
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามแผนกิจกรรมประงวดที่ 1 ปัญหา อุปสรรค  แนวทางการแก้ปัญหา และการเตรียมความพร้อมงวดที่ 2

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เตรียมเอกสารข้อมูล เอกสารบัญชี
  2. ตรวสอบความถูกต้อง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

    การดำเนินโครงการหมู่บ้านจัดการสุขภาวะดี วิถีพอเพียงบ้านทุ่งมะปรัง  นับว่าเป็นโอกาสที่ดีของชุมชนที่ได้ดำเนินโครงการดังกล่าว เพื่อต้องการให้ชุมชนมีระบบฐานข้อมูลท่ีเชิงประจักษ์ ในการนำข้อมูลไปสรุปรวบรวม และวิเคราะห์ปัยหาของชุมชน จัดทำเวทีประชาคม เพื่อจัดทำแผนชุมชน หาแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและจำลำดับความสำคัญของปัยหาต่อไป
    วันนี้พี่เลี้ยงโครงการ  โดยคุณธิดา  เหมือนพะวงศ์  พี่เลัียงโครงการ ได้มาเยี่ยมและติดตามผลการดำเนินตามแผนกิจกรรมของโครงการที่ได้วางไว้  จากการติดตามในครั้งนี พบว่า โครการหมู่บ้านจัดการสุขภาวะดี วิถีพอเพียงบ้านทุ่งมะปรัง มีการดำเนินกิจกรรมตามแผนกิจกรรมโครงการที่ได้วางไว้มีความล่าช้า  เนื่องจากว่าโครงการอาน้เป็นโครงการใหม่ โดยสรุปประเด็นได้ดังนี้     1.การดำเนินงานมีความล่าช้าไม่เป็นไปตามแผนกิจกรรมที่ได้วางไว้     2.ผู้รับผิดชอบโครงการ และคณะกรรมการ มีภารกิจในชุมชนค่อนข้างมาก     3. ลขานุการและเหรัญญิกยังขาดความรู้ในการจัดบัญชีรายรับ-รายจ่าย และการลงช่องรายจ่ายตามประเภท     4.ปรับแผนกิจกรรมให้มีความเหมาะสมกับบริบทของชุมชน     5.บูรณาการกิจกรรมกับกิจกรรมของชุมชที่มีความสอดคล้องกันในบางกิจกรรม     6.ให้ความรู้เทคนิคการจัดทำบัญชีอย่างง่ายให้กับเลขานุการและเหรัญญิก

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน
  2. เลขานุการและเหรัญญิก 1 คน
  3. คณะกรรมการและคณะทำงาน 3 คน
  4. พี่เลี้ยงโครงการ 1 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหา 1.การดำเนินงานมีความล่าช้าไม่เป็นไปตามแผนกิจกรรมที่ได้วางไว้ 2.ผู้รับผิดชอบโครงการ และคณะกรรมการ มีภารกิจในชุมชนค่อนข้างมาก 3. เลขานุการและเหรัญญิกยังขาดความรู้ในการจัดบัญชีรายรับ-รายจ่าย และการลงช่องรายจ่ายตามประเภท แนวทางการแก้ปัยหา 1.ปรับแผนกิจกรรมให้มีความเหมาะสมกับบริบทของชุมชน 2.บูรณาการกิจกรรมกับกิจกรรมของชุมชที่มีความสอดคล้องกันในบางกิจกรรม 3.ให้ความรู้เทคนิคการจัดทำบัญชีอย่างง่ายให้กับเลขานุการและเหรัญญิก

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางธิดา เหมือนพะวงศ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

1.อยากให้ทาง สสส.ให้ความรู้การจัดทำบัญชี เทคนิคการทำบัญชี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

1.อยากให้มีการติดตามและแนะนำโครงการที่มีความล่าช้าอย่างต่อเนื่อง 2.ยืดเวลาในการดำเนินงานโดยการปรับแผนกิจกรรมให้มีความสะดวกต่อการดำเนินงานในชุมชน