ร่วมสร้างสุขให้ชุมชน ด้วยการฟื้นเลบ้านคูขุด

เพื่อชุมชน หน่วยงานได้ร่วมกันอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรในทะเลสาบ เช่นการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ28 มิถุนายน 2559
28
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย wangmanee
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ เข้าใจและตระหนักถึงการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรฯ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1ลงทะเบียน

2ประเด็นการพูดคุย

3แลกเปลี่ยนในเวที

4อาหารเที่ยง

5วางแผนการดำเนินงาน

6สรุป

7จัดเอกสารที่เกี่ยวข้อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานโครงการฯเข้าไปมีส่วนร่วมกับเครื่อข่ายโหนด นา เล ในพื้นที่ตำบลคูขุด หน่วยงานที่เข้ามาหนุนเสริมเพื่อได้ร่วมกันวางแผนทำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำในทะเลสาบสงขลาคือ การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำในเขตอนุรักษ์ทะเลหน้าบ้าน ร่วมกันในวันที่ 16 กรกฏาคม2559โดยทางกลุ่มแพปลาชุมชบ้านคูขุด ตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรสัตว์น้ำ ที่เป็นเหมือนสร้างอาชีพ รายได้ แหล่งอาหารหลักของชุมชน การเข้าไปมีส่วนร่วมปล่อยสัตว์น้ำลงสู่ทะเลสาบสงขลา สัตว์น้ำก็จะขยายเพิ่มปริมาณ อาศัยอยู่ทั่วพื้นที่ทะเลสาบสงขลาชาวประมงทุกคนก็ได้จับ มีรายได้ที่ดีขึ้นทุกคนก็มีความสุข

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน,แกนนำในพื้นที่,คณะกรรมการสมาชิกเครือข่ายสมาคมประมงทะเลสาบอำเภอสทิงพระ ,แพปลาชุมชนบ้านคูขุด,องค์การบริหารส่วนตำบลคูขุด

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

  เวทีพูดคุยงานอนุรักษ์ฟื้นฟูจากหน่วยงานภาครัฐร่วมกับชุมชนมีน้อย การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำมีน้อย การจัดสรรงบประมาณหนุนเสริมไม่ต่อเนื่อง  รัฐควรจัดสรรงบประมาณ หนุนเสริมพื้นที่ ที่มีองค์กรชุมชนที่ชัดเจน มีการทำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูอย่างต่อ เนื่อง รวมกันวางแผนงานอนุรักษ์ฟื้นฟูกับชุมชน ภาคี ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
จำรัส หวังมณีย์,เบญจวรรณ เพ็งหนู
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-