บ้านวังทองน่าอยู่ด้วยวิถีพอเพียง

ร่วมประชุมร่วมกับพี่เลี้ยง สจรส.มอ.3 ตุลาคม 2559
3
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย อนันต์ นาคสังข์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ และสจรส.มอ.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมกิจกรรมงาน "คนใต้สร้างสุข" ณ หอประชุมนานาชาติ มอ.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลาโดยภายในงาน มีกิจกรรมมากมายเป็นระยะเวลา 3 วัน ตั้งแต่วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 มีกระบวนการจัดงานคือ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) ร่วมกับสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) หน่วยงานภาครัฐ และภาคีเครือข่ายสุขภาพต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคใต้ ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการระบบสุขภาพและการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสุขภาพระดับพื้นที่ จึงได้จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง “นวัตกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ (Innovation of Health Promotion) ” ประจาปี พ.ศ. 2559 ระหว่างวันที่ 3 - 5 ตุลาคม 2559 โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย นักวิชาการจากสถาบันการศึกษา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ภาคประชาชน หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท่องถิ่น และภาคีเครือข่าย ต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคใต้ จานวน 1,200 คน ทำให้ทางโครงการบ้านวังทองน่าอยู่ได้มีโอกาสเข้าร่วมงานในครั้งนี้ และได้เก็บเกี่ยวความรู้ต่าง ๆ ที่ได้จากภายในงานจำนวนมาก เช่น จากบูชนิทรรศการ ,สินค้าชุมชน, เวทีเสวนา การบรรยายให้ความรู้ต่าง ๆ อย่างมากมาย ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทีมงานโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่และเครือข่ายสุขภาวะอื่นๆประกอบด้วย วันจันทร์ ที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. การแสดงโขน ตอน ศึกพรหมาสตร์ ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พิธีเปิด การร่วมกันร้องเพลงชาติไทย ๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๐ น. กล่าวต้อนรับ โดย นายทรงพลสวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ๑๓.๑๐ - ๑๓.๒๐ น. กล่าวเปิดโดย นายแพทย์วีระพันธ์สุพรรณไชยมาตร์ รองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ๑๓.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. ปาฐกถา เรื่อง “บทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน”โดย นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี ๑๕.๐๐ - ๑๕.๓๐ น. รายงานสุขภาวะคนใต้ สรุปภาพรวมการดำเนินงานสร้างสุขภาคใต้ปีที่ผ่านมา โดย ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพสุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ (สจรส.ม.อ.) ๑๕.๓๐ - ๑๗.๐๐ น. เสวนา “มุมมองใหม่ในการพัฒนาระบบสุขภาพในอนาคต” โดย ผศ.ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี นายพงษ์ศักดิ์ยิ่งชนม์เจริญนายกเทศมนตรีนครยะลา นายทวีวัตรเครือสาย ตัวแทนภาคประชาสังคมจังหวัดชุมพร นายแพทย์ยอร์นจิระนครสาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ ๑๒ ผู้ดำเนินรายการเสวนา : นายแพทย์บัญชาพงษ์พานิช ๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐ น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม วันอังคาร ที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น.การประชุมห้องย่อย ๑. การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม พื้นที่ ๑๔ จังหวัดภาคใต้ ๒. การท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ๓. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ๔. สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ สู่นโยบายสาธารณะ ๕. ความมั่นคงทางมนุษย์ : การลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น.การนำเสนอผลงานวิชาการ ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม ๑ ห้องนำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่าเร้าพลังลานสื่อสร้างสุข ๑๒.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. ลานปัญญาเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม ลานศาลาเรือนไทย ๑๔.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. การประชุมห้องย่อย ๑. การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม พื้นที่ ๑๔ จังหวัดภาคใต้ (ต่อ) ๒. ความมั่นคงทางอาหาร ๓. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (ต่อ) ๔. สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ สู่นโยบายสาธารณะ (ต่อ) ๖.การพัฒนาเด็ก เยาวชนและครอบครัว ๗.ระบบสุขภาพการแพทย์พหุวัฒนธรรม ๑๔.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. การนำเสนอผลงานวิชาการ ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม ๑ (ต่อ) ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม ๒ (ต่อ) ห้องนำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่าเร้าพลัง (ต่อ) ๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐ น. ลานปัญญาเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดแนวคิดประสบการณ์ในการทำงานในชุมชน การสร้างคน สร้างงาน  และนำไปใช้ในชุมชนได้ เช่น การสร้างผลิตภัณฑ์ในชุมชน ,การปลูกผักปลอดสารพิษกินในครัวเรือน เหลือกินสามารถนำไปขายสร้างรายได้เสริมให้กับครัวเรือน จะเห็นถึงความหลากหลายของกิจกรรมจาก 14 จังหวัดภาคใต้ ถึงแม้วิถีแต่ละจังหวัดจะไม่เหมือนกัน แต่เราสามารถนำสิ่งที่คล้าย ๆ กันมาประยุกต์ใช้ในชุมชนของเราได้ และนอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมงานยังเกิดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายจากชุมชนเครือข่าย 14 จังหวัดภาคใต้ และรู้จักเพื่อนชุมชนใหม่ ๆ มากมาย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-นางสมใจ ด้วงพิบูลย์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

อาจมีบางสิ่งบางอย่างที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในพื้นที่ได้ เช่น การสร้างผลิตภัณฑ์ในชุมชน ในครัวเรือน หรือ ความรู้ต่าง ๆ จากวิทยากรนำมาถ่ายทอดประสบการณ์ให้พื้นที่ได้รับฟัง