สานสายใยรักบ้านไม้ขาวร่วมจัดการโรคเรื้อรัง

กิจกรรมสายใยรักสานสัมพันธ์ครอบครัว ครั้งที่3 (ควบคุมอาการโรคเรื้อรังโดยใช้นวัตกรรม ชา 5 ถ้วยฯ)10 มีนาคม 2016
10
มีนาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นายมาโนช สายทอง
circle
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว
  2. เพื่อลดความรุนแรงของโรคเรื้อรังและป้องกันกลุ่มเสี่ยง
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก จำนวน 100 คน
  2. ใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางในการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย ในการควบคุมอาการของโรคเรื้อรัง ด้วยการใช้นวัตกรรม ชา 5 ถ้วย และ นำ้ปลา 5 ถ้วย
  3. นัดหมายวันปฏิบัติงานตามปฏิทินของแต่ละเขตให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
  4. ลงมือปฏิบัติกิจกรรม ให้ผู้ป่วยทดสอบความหวานด้วยการชิมนำ้ชา ซึ่งมีอยู่ 5 สกุลแล้วบอกว่าชอบชาถ้วยใหน ค่าความหวานก็จะอยู่ในระดับนั้น เช่น 4.1 สกุลอ่อนหวานคือ นำ้ชา 1 ถ้วย รสจืด ค่าความหวานอยูในระดับ 1 4.2.สกุลหวานนิดนำ้ชา 1 ถ้วยที่มีนำ้ตาลผสมอยู่ 1 ช้อนชา ค่าความหวานอยูในระดับ 2 4.3.สกุลหวานแหววนำ้ชา 1 ถ้วยที่มีนำ้ตาลผสมอยู่ 2 ช้อนชา ค่าความหวานอยูในระดับ 3 4.4. สกุลหวานเย็นเป็นนำ้ชา 1 ถ้วยที่มีนำ้ตาลผสมอยู่ 3 ช้อนชา ค่าความหวานอยูในระดับ4 4.5. สกุลหวานฉำ่เป็นนำ้ชา 1 ถ้วยที่มีนำ้ตาลผสมอยู่ 1 ช้อนชา ค่าความหวานอยูในระดับ 5 ผู้ถูกทดสอบ ชอบชาถ้วยใหนก็จะแสดงค่า ระดับการบริโภคความหวาน และชื่อเรียกตามสกุลนั้นๆ
  5. เช่นเดียวกับการทดสอบค่าการบริโภคความเค็ม 5 ระดับด้วยการใช้ ไข่5ฟอง ตามชื่อสกุล ดังนี้ 5.1 สกุลจืดเค็ม เป็นไข่เจียวรสจืดที่ไม่มีโซเดียมเป็นส่วนผสม ค่าความเค็มอยู่ในระดับ 1 5.2 สกุลเค็มกร่อย ไข่เจียวที่เติมเกลือแค่ 1/4ช้อนชา ไขมัน 1/2 ช้อนชา ค่าความเค็มอยู่ในระดับ 2 5.3 สกุลเค็มหน่อย ไข่เจียวที่เติมเกลือแค่ 2/4ช้อนชา ไขมัน 1 ช้อนชา ค่าความเค็มอยู่ในระดับ 3 5.4 สกุลเค็มปี๊ด ไข่เจียวที่เติมเกลือแค่ 3/4 ช้อนชา ไขมัน2ช้อนชาค่าความเค็มอยู่ในระดับ 4 5.5 สกุลเค็มปี๋ไข่เจียวที่เติมเกลือแค่ 1 ช้อนชา ไขมัน 3ช้อนชาค่าความเค็มอยู่ในระดับ 5
  6. เมื่อได้ค่าระดับ แล้วก็ให้บันทึกลงในสมุดบันทึกการบริโภค
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มเป้าหมาย(ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ) จำนวน 100 คน
  2. กลุ่มผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองและรู้จักการควบคุมโรคได้ดีขึ้น
  3. กลุ่มผู้ป่วยได้รู้ค่าระดับการบริโภคหวาน มัน เค็มของตนเอง
  4. กลุ่มผู้ป่วย สามารถนำการทดสอบพื้นฐานไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ จากการให้ผู้ป่วยทดสอบความหวานด้วยการชิมนำ้ชา ซึ่งมีอยู่ 5 สกุลแล้วบอกว่าชอบชาถ้วยใหน ค่าความหวานก็จะอยู่ในระดับนั้น เช่น

4.1 สกุลอ่อนหวานคือ นำ้ชา 1 ถ้วย รสจืด ค่าความหวานอยูในระดับ 1

4.2.สกุลหวานนิดนำ้ชา 1 ถ้วยที่มีนำ้ตาลผสมอยู่ 1 ช้อนชา ค่าความหวานอยูในระดับ 2

4.3.สกุลหวานแหววนำ้ชา 1 ถ้วยที่มีนำ้ตาลผสมอยู่ 2 ช้อนชา ค่าความหวานอยูในระดับ 3

4.4. สกุลหวานเย็นเป็นนำ้ชา 1 ถ้วยที่มีนำ้ตาลผสมอยู่ 3 ช้อนชา ค่าความหวานอยูในระดับ4

4.5. สกุลหวานฉำ่เป็นนำ้ชา 1 ถ้วยที่มีนำ้ตาลผสมอยู่ 1 ช้อนชา ค่าความหวานอยูในระดับ 5

ผู้ถูกทดสอบ ชอบชาถ้วยใหนก็จะแสดงค่า ระดับการบริโภคความหวาน และชื่อเรียกตามสกุลนั้นๆ

5.เช่นเดียวกับการทดสอบค่าการบริโภคความเค็ม 5 ระดับด้วยการใช้ ไข่5ฟอง ตามชื่อสกุล ดังนี้

5.1 สกุลจืดเค็ม เป็นไข่เจียวรสจืดที่ไม่มีโซเดียมเป็นส่วนผสม ค่าความเค็มอยู่ในระดับ 1

5.2 สกุลเค็มกร่อย ไข่เจียวที่เติมเกลือแค่ 1/4ช้อนชา ไขมัน 1/2 ช้อนชา ค่าความเค็มอยู่ในระดับ 2

5.3 สกุลเค็มหน่อย ไข่เจียวที่เติมเกลือแค่ 2/4ช้อนชา ไขมัน 1 ช้อนชา ค่าความเค็มอยู่ในระดับ 3

5.4 สกุลเค็มปี๊ด ไข่เจียวที่เติมเกลือแค่ 3/4 ช้อนชา ไขมัน2ช้อนชาค่าความเค็มอยู่ในระดับ 4

5.5 สกุลเค็มปี๋ไข่เจียวที่เติมเกลือแค่ 1 ช้อนชา ไขมัน 3ช้อนชาค่าความเค็มอยู่ในระดับ 5

6.เมื่อได้ค่าระดับ แล้วก็ให้บันทึกลงในสมุดบันทึกการบริโภค

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

คนวัยทำงาน 100 คน (กลุ่มเป้าหมายหลัก )

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางวารุณี ธารารัตนากุล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-