บ้านคันเบ็ดปลอดสารพิษด้วยเศรษฐกิจพอเพียง

สรุปผลและถอดบทเรียน การดำเนินงานตามโครงการ27 สิงหาคม 2559
27
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย โกวิทย์ พรพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปผลและถอดบทเรียน การดำเนินงานตามโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะกรรมการและตัวแทนครัวเรือน ร่วมลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมสรุปผลและถอดบทเรียน การดำเนินงานตามโครงการ
  • เจ้าของโครงการชี้แจงการจัดกิจกรรมสรุปผลและถอดบทเรียน การดำเนินงานตามโครงการร่วมกันเสนอผลการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมตลอดโครงการว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างมีอะไรเปลี่ยนแปลงหลังจากการจักกิจกรรมในทุกด้าน เลขาสรุปผลการจัดกิจกรรมพร้อมชี้แจงงบประมาณ รายจ่าย ให้ชุมชนรับทราบผู้ใหญ่เน้นย้ำกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ต้องดำเนินการอย่างเนื่องและมาตราการต่างๆที่ร่วมกันวางไว้ ยังคงใช้ต่อไปและขอบคุณทุกครัวเรือนที่ร่วมกันทำกิจกรรมเพื่อชุมชนสามารถจัดการตัวเองได้
  • ร่วมกันเสนอผลการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมตลอดโครงการว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างมีอะไรเปลี่ยนแปลงหลังจากการจักกิจกรรมในทุกด้าน
  • เลขาสรุปผลการจัดกิจกรรมพร้อมชี้แจงงบประมาณ รายจ่าย ให้ชุมชนรับทราบ
  • ผู้ใหญ่เน้นย้ำกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ต้องดำเนินการอย่างเนื่องและมาตราการต่างๆที่ร่วมกันวางไว้ ยังคงใช้ต่อไปและขอบคุณทุกครัวเรือนที่ร่วมกันทำกิจกรรมเพื่อชุมชนสามารถจัดการตัวเองได้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : คณะกรรมการตัวแทนครัวเรือน จำนวน 100 คน ร่วมกิจกรรมสรุปผลและถอดบทเรียน การดำเนินงานตามโครงการและร่วมแลกเปลี่ยนจุดเด่น จุดด้อยจากการทำกิจกรรมร่วมกัน
ผลลัพธ์ การดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมผ่านตามตัวชี้วัดดังนี้

  1. มีจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการใช้สารเคมีวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อให้คนในชุมชนลดการใช้สารเคมีโดยกระบวนการคือครัวเรือนในชุมชนมีแปลงปลูกผักกินเองที่เป็นครู กจำนวน 10ครัวเรือน เพื่อทำการเป็นต้นแบบในการขยายต่อเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สารเคมี วิธีการป้องกัน โทษพิศภัยของสารเคมีผลกระทบเกิดจากการใช้สารเคมีไม่ถูกต้อง จำนวน 100 ครัวเรือน
  2. ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 100 คน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรปลอดสารพิษร่วมทำข้อตกลงของชุมชนในการปลูกผักปลอดสารพิษ และเตรียมคัดเลือกเป็นครัวเรือนต้นแบบจำนวน10ครัวเรือน ทำแผนการปฏิบัติของชุมชน
  3. เกิดครัวเรือนในชุมชนมีการปลูกสมุนไพร 20 ครัวเรือนและสาธิตการใช้สมุนไพรได้อย่าต่อเนื่องและมีประโยชน์ จัดทำทะเบียนสมุนไพรไว้ในชุมชน
  4. คณะกรรมการและเยาวชนจำนวน 25 คนได้ร่วมกันสร้างเครื่องมือและ วิเคราะห์ เนืื้อหาประเด็นที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ในการแก้ปัญหา ในชุมชน
  5. คณะกรรมการและเยาชนทำการสำรวจข้อมูล จำนวน 120 ครัวเรือน ตามรายละเอียดของเครื่องมือ โดยคณะกรรมการและเยาวชนอาสา
  6. คณะกรรมการ เยาวชนทำการวิเคราะห์ข้อ ที่ได้เพื่อแจกแจง และจัดลำดับ ประเด็นปัญหาเพื่อเตรียกมาคืนข้อมูลสู่ชุมชน
    ในการดำเนินงานดังกล่าวทำให้ชุมชนทราบวิธีการหาข้อมูลการสร้างเครื่องมือ และการวิเคราะห์ข้อมูลคืนข้อมูลสู่ชุมชน เพื่อเป็นการเฝ้าระวังสร้างกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้อย่างถูกต้องตรงประเด็น
  7. เกิดกลไกโครงสร้างสภาชุมชนบ้านคันเบ็ด ขับเคลื่อนการดำเนินงานกิจกรรมโครงการและกิจกรรมของชุนอย่างต่อเนื่องการเกิดสภาพแวดล้อมหรือปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาวะของคน องค์กร ชุมชน ในพื้นที่ จำนวน1แห่ง
  8. สภาชุมชนบ้านคันเบ็ดเกิดจากกลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการหมู่บ้านเดิมที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพให้เป็นแกนนำ มาเป็นคณะกรรมการสภาชุมชน จำนวน 25 คน และเกิดการทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนครัวเรือน 100 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อภิวัฒน์ ไชยเดช
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-