สร้างบ้านสร้างป่าบูโดให้น่าอยู่ ม.7 บ้านเจาะกะพ้อใน

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ประเมินผล/สรุปโครงการ3 กันยายน 2559
3
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายซัยฟุดดีน เจะฮะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อป้องกันฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนา ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าอาหารชุมชน ด้านป่า ยาชุมชน และตัวชี้วัดทรัพยากรธรรม(นกเงือก)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเตรียมความในการประชุมสภา
  2. เตรียมเอกสารการประชุม
  3. ประสานคณะกรรมการสภา
  4. จัดเตรียมสถานที่
  5. ประชาสัมพันธ์แจ้งให้สมาชิกเชิญชวนตามกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยส่งข้อความเชิญประชุมในกลุ่มไลน์ก่อน และได้ทำหนังสือเชิญประชุมจากหน่วยงานภาครัฐ อบต.และหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกลุ่มเป้าหมาย 60 คนซึ่งประกอบด้วยกลุ่มวัยเรียน 5 คน กลุ่มวัยทำงาน 42 คน กลุ่มสูงวัย13 คน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการดำเนินงานโครงการและกลุ่มเป้าหมายจำนวน 60 คน ได้ร่วมกันจัดเวทีในครั้งนี้ทำให้เห็นถึงความร่วมมือในการทำงานเป็นสิ่งสำคัญ และเป็นเรื่องที่จะต้องให้เกิดในชุมชนเพราะความร่วมมือคือก้าวแรกที่จะเดินไปสู่ความสำเร็จ ไม่มีกิจกรรม กิจการใดที่จะเร็๋จผลโดยที่ไม่ได้รับความร่วมมือจากใครเลย
  • สิ่งที่เกิดขึ้นในชุมชนช่วง 1 ปีที่ผ่านมา และการทำงานโครงการชุมชนได้ภาคีเครือข่ายไม่ว่าจะเป็นด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านความร่วมมือร่วมใจกัน และด้านมาตรการต่างๆในการช่วยกันดูแลและป้องกันชุมชนและป่าให้อยู่ร่วมกันจนเกิดกลุ่มอนุรักษ์นกเงือก เกิดกลุ่มท่องเทียวเชิงนิเวศ์และกลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์และเกิดการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการสร้างความร่วมมือ ของกลุ่มสภาผู้นำที่ให้ความสำคัญกับการรักษาวิถีชีวิตชุมชน ที่เชื่อมโยงกับการดูแลรักษาระบบนิเวศป่าธรรมชาติ ซึ่งให้ประโยชน์และมีคุณค่าต่อการดำรงชีวิตของชุมชนบ้านเจาะกะพ้อใน มาอย่างยาวนาน ทั้งในด้าน ผลผลิตจากป่า ความหลากหลายทางชิวภาพ การท่องเที่ยวและนันทนาการ การป้องกันภัยพิบัติ การเป็นแหล่งพึ่งพิ่งอาหาร รวมทั้งใช้เป็นพื้นที่สำหรับเชื่อมโยง จารีตประเพณี ของชุมชนด้วยเหตุนี้ การดำเนินโครงการจึงเป็นความพยายามที่ต้องการให้ชุมชนตระหนักรู้ ตระหนักคิด ตระหนักแก้ ต่อความเสี่ยงที่อาจกระทบต่อวิถีชีวิต ชุมชนโดยใช้กิจกรรมการอนุรักษ์ เป็นสื่อในการเรียนรู้ภายใต้กลไก ความเห็นพองต้องกัน ของกลุ่มภาคีในท้องถิ่นในรูปแบบของ สภาผู้นำ อันเป็นการสร้างความเข้มแข็ง ในการพัฒนาชุมชนอย่างยังยืนต่อไป
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 70 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวัยเรียน 5 คน
กลุ่มวัยทำงาน42 คน
กลุ่มสูงวัย13 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-