ทำนบร่วมสร้างอาชีพสร้างรายได้ อยู่อย่างพอเพียง

วิเคราะห์ข้อมูลด้านเศษฐกิจชุมชน28 กันยายน 2559
28
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย นายยาลานิง อาบ๊ะ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวิเคราะห์ถึงปัญหาและสาเหตุของชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ศึกษาสภาพปัญหา 2.สภาผู้นำรวมกันศึกษาสาเหตุของปัญหา 3. ความต้องการของชุมชนคือสาเหตุของปัญหาและความต้องการเป็นอย่างไรจึงเกิดการวางแผนดำเนินการแก้ไขปัญหาในขั้นต่อไปสิ่งสำคัญที่สุดในการวิเคราะห์ชุมชนคือประชาชนจะต้องมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ชุมชนถ้าหากประชาชนมีส่วนร่วมมากเท่าใดสภาผู้นำวิเคราะห์ถึงการแก้ปัญหาชุมชนสามารถนำข้อวิเคราะห์ถึงการสภาพปัญหาของชุมชนได้ ว่าชุมชนมีสภาพเป็นอย่างไร สามารถสอดถึงข้อมูลที่แท้จริงของชุมชน เพื่อทดสอบความรู้เดิมให้มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้นเป็นการทดสอบความรู้ต่างๆ ยืนยันและเป็นการทำให้ความรู้เดิมนั้นน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้นเป็นเรื่องของการที่จะสร้างแนวความคิดและทฤษฎีใหม่ขึ้นให้แก่ชุมชน การศึกษาชุมชนแบบแรกเป็นสิ่งที่มีความสำคัญสูงต่อการทำงานพัฒนาในพื้นที่ รวมถึงศึกษาสาเหตุที่เกิดขึ้นภายในชุมชน ได้แก่ ปัญหาความยากจน ปัญหายาเสพติด และปัญหาการขาดแคลนอาชีพและด้านอื่นๆและสภาผู้นำเกิดความเข็มแข็งภายในตัวและคณะกรรมการสรา้งความเชื่อถือต่อคนในชุมชนพร้อมถึง ความต้องการของคนในชุมชนอย่างแท้จริง คือชุมชนต้องการ สร้างรายได้ ชุมชนต้องการอาชีพ เป็นต้นเพื่อสอดคล้องกับความต้องการของคนในชุมชน และสามารถนำไปแก้ปัญหาอย่างตรงจุดการวิเคราะห์ถือเป็นการแก้ปัญหาของผู้นำและคนในชุมชน ทำให้เกิดความร่วมมือ ความสามัคคีที่จะพัฒนาหมู่บ้านของตนเองเป็นภาพรวมที่จะทำให้คนในหมู่บ้านและหมู่บ้านข้างเคียงมีความมั่นใจถึงการพัฒนา 1. ชุมชนทราบถึงปัญหา 2. ชุมชนทราบถึงสาเหตุ ที่มาที่ไปได้ 3. ชุมชนมีการวางแผนต่อไป 4. ชุมชนเกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง 5. ชุมชนมีสภาผู้นำที่เข้มแข็ง จากการทำการสำรวจเกี่ยวกับ เช่น การทำบัญชี รายรับ รายจ่ายของครัวเรือนรายได้จากการทำอาชีพเสริมอาชีพหลักของแต่ละครัวเรือน รวมถึงการออมเงินเพื่อปฏิบัติเป็นนิสัย รวมถึงสอบถามลักษณะการใช้จ่าย หนี้ที่เกิดจากการว่างงาน ความเข้าใจในการทำบัญชีครัวเรือน รายรับ - รายจ่าย ด้านการออมเงินอต่ละครัเรือนมีการออมเงินเป็นเดือน เป็นวันตามความสามารถของแต่ละคนด้านการปลูกผักริมรั้วแต่ละบ้านมีการปลูกผักไว้ทานเอง เหลือจากการเหลือใช้ สามารถนำไปขายต่อ เพื่อเพิ่มมรายได้ให้แก่ครอบครัว ลดการใช้จ่ายภายในตัว กิจกรรมนี้ยังสามารถทำให้เกิดเป็นนิสัยภายในตัว และทำให้เกิดการส่งเสริมการรสร้างอาชึพของตัวเองรายละเอียด มีด้านความรู้ควมเข้าใจการจัดการบัญชีครัวเรือนพบว่ามีการลงบัญชีครัวเรือน อย่างต่อเนือง 4 ครัวเรือน ส่วนใหญ่ยังลงไม่ต่อเนื่อง พบครัวเรือนที่ดำเนินแต่ยังไม่สมบูณย์25ครัวเรือน ซึ่งต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องคณะกรรมการเสนอ ให้ สอนติดตาม รายครัวเรือน และทำเป็นละแวก ให้คณะกรรมและกลุ่มสตรีร่วมกับกลุ่มเยาวขน ที่เป็นแกนนำด้านบัญชีครัวเรือนสอนละแวกบ้านซ้ำและติดตามอย่างต่อเนื่องสำเสนอให้กับคณะกรรมการชุมชน ครัวเรือนทีเขียนหนังสือไม่ได้ ให้บุตรเป็นแกนนำในการดูแลร่วมกับพ่อแม่และช่วยบันทึกต้องให้ลูกหลานช่วยด้านการเพิ่มรายได้ มีผลิดด้านอาหาร คือ ผัก จำพวกผักบุ้ง ถั่วชะอม พริกตะใคร้ ข่ากระเจียบปลูกมันสำปะหลัง 20 ควรัวเรือน เลี้ยงปลาดุ 8 ครัวเรือน มีการออมทรัพย์ วันละบาทกับกองทุนออมทรัพย์ 50 ครัวเรือน ซึ่งดำเนินการทำหลังจากได้ประชาสัมพันธ์กองทุนออมทรัพย์ มีการสำรวจด้านการศึกษา พ่อ แม่ไม่ได้เรียนหนังสือด้านประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่ทำอาชัพกรีดยาง และเป็นแม่บ้านส่วนใหญ่บริโภดอาหารถุงขนมกินเล่น จากรถเร่ที่มาข่ายในชุมชน ส่วน น้ำปลา น้ำตาล ซอสข้าวสาร จากร้านในตัวเมือง รวมถึงเสื้อผ้า ค่าเล่าเรียน ค่าขนมลูก ในชุมชนไม่มีสหกรณ์ชุมชนด้านรายได้ต่ำกว่า 5000 บาท รายจ่าย มากกว่า 9000 -15000 บาทพบครัวเรือนหนี้นอกระบบ จำนวนหนี้ประมาณครัวเรือนช่วง 5000 - 8000 บาท และบางครัวเรือนมีหนี้ธนาคารอยู่ในช่วง 1000 - 100000 บาท เพื่อทำการกู้มาต่อเติมบ้านกับธนาคารประมาณ 5 ครัวเรือน หรือ ซึ่งทำการสำรวจ ทั้ง 42 หลังคาเรือนในวันนี้ และในการสำรวจมีการแนะนำครัวเรือง การใช้จ่าย การลดรายจ่าย ให้กับครัวเรืิอน ซึ่งส่วนใหญ่เข้าใจมากขึ้น พยายามจะลดรายจ่าย และไม่สร้างหนี้ให้กับครัวเรือนอา สรุชีพเดี่ยว กรีดยาง60 ครัวเรือน ปลูกผักเดิม 5 ครัวเรือน ปัจจุบัน 20 ครัวเรือนอาชีพค้าขาย5 ครัวเรือน รับจ้าง 21 ครัวเรือน สรุปได้ว่าอาชีพส่วนใหญ่ยังเป็นอาชีพเชิญเดี่ยว มีการเสนอให้คณะกรมการดำเนินการให้ชาวบ้านทำอาชีพเสริมหลากหลายตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เช่น กรีดยาง เลี้ยงสัว์ ปลูกผัก และเป็นตั้งกลุ่มอาชีพที่นำผลผลิตที่ได้ในชุมชนแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆโดยสร้างตลาดในชุมชนและนอกชุมชน เช่น การทำตาแปบีแนนำไปแรรูปเป็น ขนมหวาน ออเดาะตาแป ตาแปทอด เกิดก

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สภาผู้นำวิเคราะห์ กลุ่มเยาวชนและกลุ่สตรีรวมวิเคราะห์ถึงการแก้ปัญหาชุมชนสามารถนำข้อวิเคราะห์ถึงการสภาพปัญหาของชุมชนได้ ว่าชุมชนมีสภาพเป็นอย่างไร สามารถสอดถึงข้อมูลที่แท้จริงของชุมชน เพื่อทดสอบความรู้เดิมให้มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้นเป็นการทดสอบความรู้ต่างๆ ยืนยันและเป็นการทำให้ความรู้เดิมนั้นน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้นเป็นเรื่องของการที่จะสร้างแนวความคิดและทฤษฎีใหม่ขึ้นให้แก่ชุมชน การศึกษาชุมชนแบบแรกเป็นสิ่งที่มีความสำคัญสูงต่อการทำงานพัฒนาในพื้นที่ รวมถึงศึกษาสาเหตุที่เกิดขึ้นภายในชุมชน ได้แก่ ปัญหาความยากจน ปัญหายาเสพติด และปัญหาการขาดแคลนอาชีพและด้านอื่นๆและสภาผู้นำเกิดความเข็มแข็งภายในตัวและคณะกรรมการสรา้งความเชื่อถือต่อคนในชุมชนพร้อมถึง ความต้องการของคนในชุมชนอย่างแท้จริง จำนวน 50 คน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มสตรี  กลุ่มเยาวชน และคณะกรรมการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-