บ้านห้วยไทร หมู่ 10 น่าอยู่ฟื้นฟูเศรษฐกิจเน้นความเจริญด้านอาหาร

อบรมและลงมือปฏิบัตัเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายที่สามารถใช้ได้จริง18 กรกฎาคม 2559
18
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย น.ส.กิ่งดาว เอ็กหลี
circle
วัตถุประสงค์

  อบรมและลงมือปฏิบัติเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายที่สามารถใช้ได้จริง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วันที่18กรกฎาคม2559เวลา09.00 น ณอาคารอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน ได้มีอบรมลงมือปฏิบัติเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายที่สามารถใช้ได้จริงโดยมีวิทยากรสองท่านคือนางหนึ่งฤทัยจินตสกุลปลัดอำเภอและนางสาวสมปงบุญฤิทธิ์ทั้งสองท่านได้มาให้ข้อมูลดังต่อไปนี้ การทำ บญัชีครัวเรือนเป็นการจดบันทึกรายรับรายจ่ายประจำวันของครัวเรือน และสามารถนา ข้อมูลมา วางแผนการใชจ้่ายเงินในอนาคตไดอ้ยา่ งเหมาะสม ทา ใหเ้กิดการออม การใชจ้่ายเงินอยา่ งประหยดัคุ้มค่าไม่ ฟุ่มเฟือย ดังนั้นการทำบัญชีครัวเรือนมีความสำคัญดังนี้ 1. ทำให้ตนเองและครอบครัวทราบรายรับ รายจ่าย หนี้สิน และเงินคงเหลือในแต่ละวัน รายรับ หรือ รายได้คือ เงิน หรือสินทรัพย์ที่มีมูลค่าได้ที่ไดร้ับจากการประกอบอาชีพ หรือ ผลตอบแทนที่ไดร้ับจากการให้ผู้อื่นใช้สินทรัพย์หรือผลตอบแทนจากการลงทุนในรูปแบบต่างๆ เช่น รายได้ จากค่าจ้างแรงงาน เงินเดือน ดอกเบี้ยรับจากเงินฝากธนาคาร หรือจากเงินใหก้ยู้มื รายไดจ้ากการขายสินค้าหรือ บริการ เป็นต้น รายจ่าย หรือค่าใชจ้่ายคือคือเงิน หรือสินทรัพย์ที่มีมูลค่าได้ที่จ่ายออกไปเพื่อให้ได้สิ่งตอบแทน กลับมา สิ่งตอบแทนอาจเป็นสินคา้หรือบริการเช่น ค่าอาหารค่าน้า ค่าไฟฟ้า (ค่าสาธารณูปโภค) ค่าน้ำมันค่า หนังสือดารา เป็นต้นหรือรายจ่ายอาจไม่ไดร้ับสิ่งตอบแทนคือสินคา้หรือบริการก็ได้เช่น เงินบริจาคเพื่อการ กุศล เงินทำบุญทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เป็นต้น หนี้สิน คือ ภาระผกูพัน ที่ต้องงชดใช้คืนในอนาคต การชดใช้อาจจ่ายเป็นเงินหรือของมีค่าที่ครอบครัว หรือตนเองมีอยู่ หน้ีสินเป็น เงินหรือสิ่งของที่มีค่าที่ครอบครัวหรือตนเองไดร้ับมาจากบุคคลหรือแหล่งเงิน ภายนอกเช่น การกยู้มืเงินจากเพื่อนบ้าน การกยู้มืเงินจากกองทุนต่างๆ การซื้อสินคา้หรือบริการเป็นเงินเชื่อ การซ้ื้อสินทรัพยเ์ป็นเงินผอ่นชำระ หรือการเช่าซื้อเป็นต้น เงินคงเหลือ คือเงิน หรือ ทรัพยสินที่วัดมูลค่าได้หลังจาก รายรับลบด้วยยรายจ่ายแลว้ปรากฏรายรับ มากกวา่ รายจ่ายจะทา ใหม้ีเงินคงเหลือ หรือในทางบญัชีเรียกวา่ กำไรแต่หากหลังจาก รายรับลบดว้ย รายจ่ายแล้วปรากฏวา่ รายจ่ายมากกว่า รายรับจะทา ใหเ้งินคงเหลือติดลบหรือทางบญัชีเรียกวา่ ขาดทุน นั่น เอง 2. นำข้อมูลการใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมาจัดเรียงลำดับความสำคัญของรายจ่าย และวางแผนการ ใช้จ่ายเงิน โดยพิจารณาแต่ละรายการในแต่ละวนั มีรายจ่ายใดที่มีความสำคญั มากและรายจ่ายใดไม่จำ เป็นให้ตัด ออกเพื่อให้การใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมีพอใช้และเหลือเก็บเพื่อการออมทรัพย์สำหรับใช้จ้ายสิ่งที่จำ เป็ นใน อนาคต บัญชีครัวเรือนถือเป็นส่วนสำคญั ในการปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดหลัก 3 ข้อคือ การ พอประมาณ ถ้ารู้รายรับรายจ่ายก็จะใช้แบบพอประมาณ แต่มีเหตุผลรู้วา่ รายจ่ายใดจำ เป็นไม่จำ เป็น และเมื่อ เหลือจากใชจ้่ายก็เก็บออม นนั่ คือภูมิคุ้มกนั ที่เอาไว้คุ้มกัน ตัวเราและครอบครัว บญั ชีครัวเรือนสามารถจดได้ หมดจึงนับว่า มีประโยชน์มาก

ข้อควรระวังในการจัดทำบัญชีครัวเรือน คือ ลืมบันทึกบัญชี ทำให้ขาดความต่อเนื่องในการบันทึก และ ส่งผลให้ไม่อยากบันทึก ผู้จัดทำ เข้าใจผิดในรายการบญัชีไม่เข้าใจรายการที่เป็นรายรับ จึงไม่ได้บันทึกบัญชี เช่น ลูกส่งเงินมาใหพ่อ แม่สำหรับใช้จ่ายทุกวัน สิ้นเดือน แต่พ่อ แม่ไม่ไดบ้น ทึกบัญชีรายรับเนื่องจากเขา้ใจวา่ เงิน ที่ได้รับมานั้น มิไดเ้กิดจากการประกอบอาชีพของตนเองหรือเข้าใจผิดรายการหน้ีสินแต่บันทึกวา่ เป็นรายรับ ทา ใหม่ได้เก็บเงินไว้สำหรับจ่ายชำ ระหน้ีในอนาคต เช่นยืมเงินจากเพื่อนบ้านนมาใช้จ่ายภายในครอบครัวถึงแม้จะ ได้รับเงินมาแต่รายการดงักล่าวไม่ถือวา่ เป็นรายรับเนื่องจากตนเองมีภาระผกูพัน ที่ต้องชดใช้ในอนาคต ซ่ึงอาจ ต้องชดใช้เงินต้น พร้อมด้วยดอกเบี้ยด้วยยจากสาเหตุดังกล่าวอาจทำให้ ครอบครัววางแผนการใช้จ่ายเงินผิดพลาด การวางแผนการใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมระหว่างรายรับและรายจ่าย ครอบครัวตอ้งมีรายรับมากกวา่ รายจ่าย หากพบว่า รายรับน้อยกวา่ รายจ่าย ต้องหาแนวทางนำ เงินมาใช้จ่ายให้เพียงพอโดยอาจต้องกู้ยืมเงินมาใช้ จ่ายแต่การกู้ยื่มเงินไม่ใช่แนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้เพียงแต่ช่วยให้การใช้จ่ายมีสภาพคล่องชั่วขณะเท่านั้น และในระยะยาวยังส่่งผลให้ครอบครัวมีภาระหนี้สินจำนวนมาทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยซึ่งจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น ตามระยะเวลาที่ยาวนานในการกยู้มืเงิน เป็นปัญหาที่แกไ้ขได้ยาก สำหรับการแกไ้ขปัญหาการขาดสภาพคล่อง ในการใช้จ่ายเงินหรือปัญหารายรับไม่เพียงพอกับรายจ่ายนั้น มีแนวทางดงัน้ี 1.การตัดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นออกเพื่อลดภาระการจ่ายเงินออกจากครอบครัวเช่น รายจ่ายเกี่ยวกับการ พนัน สิ่งเสพติดของมึนเมา รายจ่ายฟุ่มเฟือยเป็นต้น เป็นการสร้างนิสัยมิให้ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย 2.การลดรายจ่ายที่จำเป็นลง เพื่อสร้างนิสัยการประหยัด อดออม การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอยา่งคุ้มค่า เช่น การปลูกผัก ผลไม้ไ้ว้ร้บประทานเอง เพื่อช่วยลดค่าอาหารและค่าเดินทางไปตลาดอีกท้ั้งยังทำให้ สุขภาพดีอีกด้วยยลดการใชน้ำ มัน เชื้อเพลิงแล้วหันมาออกกำลังกายโดยการปั่นจกัรยาน หรือการเดิน การวิ่ง แทน การขับรถจักรยานยนต์ หรือรถยนต์ เป็ นต้น 3.การเพิ่มรายรับ หารายได้เ้สริมนอกเวลาทา งานปกติเช่น การใชเ้วลาว่างรับจา้งตัดเย็บเสื้อผ้าการขาย อาหารหลังเลิกงาน การปลูกผัก หรือเล้ี้ยงสัตวไว้ข้ายเป็นต้น 4.การทำ ความเข้าใจกันภายในครอบครัวเพื่อ ให้ทุกคนร่วมมือกัน ประหยดั รู้จักอดออม การใช้ ทรัพยากรต่างๆ ลดละเลิกรายจ่ายหรือสิ่งที่ไม่จา เป็น และช่วยกนั สร้างรายรับใหเ้พียงพอเหมาะสมกบั เศรษฐกิจปัจจุบนั เพื่อให้ สมาชิกในครัวเรือน มีความระมัดระวังรอบคอบในการใช้จ่ายเงินอยา่งมีสติใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็นและไม่ฟุ่มเฟือย มีเงินเหลือสำหรับการเก็บออม เพื่อตรวจสอบการใช้จ่ายเงินที่ไม่จำเป็น ซ่ึงจะช่วยลดรายจ่ายของครัวเรือน คำอธิบายในการใช้แบบบันทึกรายรับ -รายจ่าย 1. ใชสมุดบญัชีนี้ 1 เล่ม ต่อ1 ครัวเรือน (เก็บไว้ใช้เป็นการส่วนตัว) 2. ควรกรอกข้อมูลด้วยดินสอ (เพราะจะทำให้สามารถใช้ได้หลายปี) 3. กรอกข้อมูลรายรับ –รายจ่ายในแต่ละวนั แลว้รวมเป็นรายเดือนเพื่อจะไดท้ ราบวา่ ในแต่ละเดือนมีเงิน เหลือจ่าย หรือมีรายได้ติดลบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ครัวเรือนต้นแบบสามารถใช้ความรู้จากการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่าย
  • คนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆ ในการประกอบอาชีพ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มเป้าหมาย 30 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ไม่มี
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
  • ไม่มี
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
  • ไม่มี