ฟื้นชีวิตคืนเศรษฐกิจชาวสวนยางพัทลุงด้วยกระบวนการพัฒนาสวนยางเป็นพื้นที่พืชร่วมยาง

เวทีเรียนรู้ออกแบบการปรับเปลี่ยนส่วนยางสู่พื้นที่พืชร่วมยาง (ครั้งที่ 1)24 มกราคม 2562
24
มกราคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย sahajohn
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • หัวหน้าโครงการทำความเข้าใจรายละเอียดกิจกรรมเรียนรู้ออกแบบการปรับเปลี่ยนสวนยาง
  • แลกเปลี่ยนให้ความรู้การปลูกพืชร่วมยาง พืชที่่เหมาะสมปลูกร่วมยาง และกระบวนผลิตแบบอินทรีย์
  • กิจกรรมออมทรัพย์ เพื่อให้สมาชิกได้มาพบกันและร่วมวางแผนการทำงาน ออมของกลุ่มเพื่อช่วยเหลือกันเองของสมาชิกและทุนหมุนเวียนขับเคลื่อนพืชร่วมยาง
  • วิทยากร ให้ความรู้ในเรื่องของการปลูกพืชร่วมยางและการขยายพันธุ์พืชใช้ร่วมยาง และฝึกการเพาะพันธุ์เม็ดดาหลา การดูแลรักษาและวางแผนในการนำไปปลูกร่วมในสวนยาง
  • แลกเปลี่ยนความรู้ในการดูแลรักษาดาหลาที่ได้เพาะกลับไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สมาชิกได้ออกแบบการปลูกพืชร่วมยาง มีพืชร่วมอย่างน้อยครัวเรือนละ 20 ชนิด เช่น พืชตัดใบ ตัดดอก
  2. เงินอได้การออมเกิดขึ้นในกลุ่มของเราทำให้สมาชิกมีอมมากขึ้น.
  3. สมาชิกได้มีความรู้วิธีการเพาะพันธุ์ไม้ว่าขั้นตอนมีอะไรบ้างใช้ระยะเวลากี่วันในการเพาะ การชำ เพื่อจะได้จัดเตรียมพื้นที่ในการปลูกต้นไม้ได้ถูกต้องและให้เหมาะสมกับพื้นที่
  4. สมาชิกได้เพาะเป็นทำเป็น และได้นำเมล็ดพันธุ์ที่ได้ทำการอบรมการเพาะเมล็ดพันธุ์ไปปลูกที่บ้านและในสวนของตัวเอง