โครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครั้งที่ 130 พฤศจิกายน 2563
30
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คณะทำงานลงทะเบียน การฟื้นฟูป่าควนเลียบ อย่างน้อย15ราย ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลจากการดำเนินโครงการตามแผนงบประมาณจาก สสส สำนัก 6 จังหวัดพัทลุง ตณะทำงานได้นำข้อมูลผลจากการจักกิจกรรมตามแผนโครงการตามขั้นบันไดผลลัพธ์เพื่อการประเมินผลการทำงานที่ผ่านมา ว่าอยู่ที่ขั้นใหนของบันไดผลลัพธ์ -มีภาคีเครือข่ายร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกษตรตำบลโคกม่วง ได้นำข้อมูลผลการดำเนินงานทั้งข้อมูลเดิมและข้อมูลใหม่ให้ที่ประชุมรับทราบผลการทำงานอย่างมีส่วนร่วม -ภาคีพี่เลี้ยงจาก สสส สำนัก6 ทีมพี่เลี้ยงได้ร่วมเวทีทำความเข้าใจ การดำเนินกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียรู้ร่วมกัน อย่างมีส่วนร่วม เชิงผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการ ตามแผนการดำเนินโครงการ ที่วางไว้ของบันไดผลลัพธ์แต่ละขั้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output)ที่เกิดขึ้นจริง / คณะทำงานจำนวน 15 รายจาก15หมู่บ้านที่เป็นคณะทำงานเข้าร่วมเวที ผลลัพธ์ (Outcome)ที่เกิดขึ้นจริง /ผลลัพธ์ที่ได้ตามขั้นบันไดอยู่ที่ขั้นที่ 2และขั้นที่ 3 เพราะมีบางผลลัพธ์ที่เกิดขึันในช่วงขั้นบันไดที่3 จากข้อมูลที่ทางคณะทำงานได้นำเสนอ การเก็บข้อมูลของป่าควนเลียบ ที่มีการทำงานร่วมจากภาคีเครือข่าย ทั้งภายในและภายนอก ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม/ผลจากการดำเนินกิจกรรมแลกเรียนรู้ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการรวมทั้งข้อมูลที่ทางภาคีเครือข่ายได้นำเสนอในเรื่องการเก็บข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการดูแลป่าถือว่าเป็นเรื่องที่ดีต่อการฟื้นฟูป่าควนเลียบ เกิดความรู้ใหม่ปริมาณความสมบรูณ์ของป่าเพิ่มขึ้น 70% ของพื้นที่ มีการใช้ระบบมาช่วยในการดูแลพื้นที่ป่าควนเลียบ