โครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม

ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)20 มีนาคม 2564
20
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ก ำหนดกำรประชุมประเมินผลกำรเรียนรู้เพื่อกำรพัฒนำ ARE “หน่วยจัดกำร Node Flagship พัทลุง” วันที่ 20 มีนำคม 2564 ณ ห้องหอประชุมองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดพัทลุง อ ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 8.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน รับเอกสาร ตรวจประเมิน CVD Risk โดยคุณนิรมน ทองค า และทีมสมาคมคุ้มครองผู้บริโภคสงขลา 09.00 – 09.30 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์ โดยคุณไพลิน ทิพย์สังข์ 09.30 – 10.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม โดย คุณไพฑูรย์ ทองสม ผู้จัดการหน่วยจัดการ Node Flagship พัทลุง 10.00 – 11.30 น. แบ่งกลุ่มจ านวน 9 กลุ่ม เพื่อน าเสนอผลการขับเคลื่อนงานของแต่ละพื้นที่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยน าเสนอตามบันไดผลลัพธ์ของแต่ละพื้นที่ว่าอยู่ในบันไดขั้นไหน มีข้อมูลอะไรยืนยันว่าถึงบันได ขั้นนี้ กลุ่มที่ 1 ประเด็นสิ่งแวดล้อม (ขยะ1) โครงการขยะเทศบาลต าบลโคกม่วง โครงการขยะ อบต.เขาชัยสน โครงการขยะโรงเรียนประภัสสร โครงการขยะโรงเรียนควนพระสาครินทร์ โครงการขยะต าบลชะรัด วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณณัฐพงษ์ คงสง และ คุณประเทือง อมรวิริยะชัย กลุ่มที่ 2 ประเด็นสิ่งแวดล้อม (ขยะ2) โครงการขยะชุมชนเขาย่า โครงการการจัดการขยะแหล่งท่องเที่ยงอ าเภอกงหรา วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณนราพงษ์ สุกใส กลุ่มที่ 2 ประเด็นสิ่งแวดล้อม (น้ าเสีย) โครงการการจัดการน้ าเสียบ้านส้มตรีดออก โครงการการจัดการน้ าเสียบ้านโคกท้อน วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณอ านวย กลับสว่าง กลุ่มที่ 3 ประเด็นทรัพยากร (การจัดการน้ า) โครงการคลองส้านแดง โครงการคลองนาโอ่ วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณวิยะดา วิเชียรบุตร และ คุณอรุณ ศรีสุวรรณ กลุ่มที่ 4 ประเด็นทรัพยากร (การจัดการป่า) โครงการป่าบ้านควนเลียบ โครงการป่าชุมชนตะแพน วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณถาวร คงศรี กลุ่มที่ 5 ประเด็นทรัพยากร (การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง) โครงการคลฟื้นทะเลสาบสงขลา วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณเบญจวรรณ เพ็งหนู กลุ่มที่ 6 ประเด็นอาหารปลอดภัย (นาปลอดภัย) โครงการนาบ้านโคกแย้ม โครงการนาต าบลตะโหมด โครงการนาต าบลพนางตุง วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณสมนึก นุ่นด้วง กลุ่มที่ 7 ประเด็นอาหารปลอดภัย (ปลูกและบริโภคผักปลอดภัย) โครงการบ้านควนคง โครงการต าบลเขาปู่ โครงการบ้านลอน วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณไพลิน ทิพย์สังข์ และคุณนิรมน ทองค า กลุ่มที่ 8 ประเด็นอาหารปลอดภัย (อาหารโปรตีนปลอดภัย) โครงการปลาดุกบ้านหานโพ โครงการปลาดุกบ้านศาลาไม้ไผ่ โครงการอาหารโปรตีนปลอดภัยบ้านควนสามโพ วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณสายพิณ โปชะดา และ คุณไพฑูรย์ ทองสม กลุ่มที่ 9 ประเด็นอาหารปลอดภัย (ป่าร่วมยาง) โครงการบ้านโคกไทร โครงการป่าร่วมยางบ้านขาม วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณจุฑาธิป ชูสง 11.30 – 12.00 น. น าเสนอผลลัพธ์ภาพรวมของแต่ละกลุ่ม โดยตัวแทนกลุ่ม ด าเนินการและเติมเต็มโดยทีมวิชาการ คุณเสนี จ่าวิสูตร 12.00 – 13.00 น. 13.00 – 13.30 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน สันทนาการ 13.30 – 14.30 น. แบงกลุ่มจ านวน 6 กลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ world café ภายใต้โจทย์แต่ละกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1และ 2 ประเด็นการออกแบบเก็บข้อมูลผลลัพธ์ - โครงการของท่านมีการออกแบบและเก็บข้อมูลผลลัพธ์หรือไม่อย่างไร - ท่านเก็บข้อมูลอย่างไร โดยใคร 14.30 – 15.00 น. 15.00 – 15.30 น. 15.30 – 16.00 น. - ท่านวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร - มีปัญหาอุปสรรค์อะไรบ้างที่ต้องการความช่วยเหลือจากทีมกลาง วิทยากรประจ ากลุ่ม 1 คุณณัฐพงษ์ คงสง และ คุณประเทือง อมรวิริยะชัย วิทยากรประจ ากลุ่ม 2 คุณไพลิน ทิพย์สังข์และ คุณนิรมน ทองค า กลุ่มที่ 3 และ 4 ประเด็นการเชื่อมร้อยภาคี - โครงการของท่านมีการเชื่อมภาคีมาร่วมด าเนินโครงการหรือไม่ - ใช่เทคนิควิธีการใดในการเชื่อมภาคี - มีปัญหาอุปสรรค์อะไรบ้างที่ต้องการความช่วยเหลือจากทีมกลาง วิทยากรประจ ากลุ่ม 3 คุณอรุณ ศรีสุวรรณ และ คุณวิยะดา วิเชียรบุตร วิทยากรประจ ากลุ่ม 4 คุณถาวร คงศรี และ คุณอ านวย กลับสว่าง กลุ่มที่ 5 และ 6 ประเด็นการจัดกลไกการด าเนินงาน - โครงการของท่านมีการออกแบบกลไกการด าเนินงานอย่างไร - มีการแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างไร - มีการพัฒนาศักยภาพของทีมอย่างไร และต้องการการพัฒนาอะไรเพิ่มเติมบ้าง หรือไม่ วิทยากรประจ ากลุ่ม 5 คุณสายพิณ โปชะดา และ คุณจุฑาธิป ชูสง วิทยากรประจ ากลุ่ม 6 คุณสมนึก นุ่นด้วง และ คุณนราพงษ์ สุกใส น าเสนอผลการระดมความคิดเห็น ด าเนินการโดย คุณเบณจวรรณ เพ็งหนู เติมเต็ม ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนาการด าเนินงานของ Node Flagship พัทลุง โดย นักวิชาการ ส านัก 6 และทีมประเมิน สรุปผลการ ARE และแนวทางการด าเนินงานในระยะต่อไปของโครงการ โดย คุณไพฑูรย์ ทองสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-พื้นที่ป่าควนเลียบเข้าร่วม 4 คน 1.ผู้้รับผิดชอบโครงการ 2.เลขาโครงการ 3.คณะทำงานด้านข้อมูล 4.คณะทำงานจากพื้นที่ -พื้นที่ได้รับการแบ่่งกลุ่มเพื่อนำข้อมูลมาแลกเปลี่ยนร่วมกันจากที่ได้ดำเนินการตามแผนโครงการมาแล้ว มีการทำงานตามบันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 3 แต่ยังขาดการจัดการข้อมูลที่ยังคงใช้ข้อมูลเดิม เนื่องจามพื้นที่มีงานซับซ้อนกับงานอื่น จึงทำให้โครงการเดินล่าช้าไปบางกิจกรรม ฝันหนัก ภัยแล้งเป็นสภาพปัญหาที่ส่งผลกระทบกับแผนการทำงานที่วางไว้
- ผลจากที่ได้ร่วมกิจกรรมทำให้เห็นถึงความสมบรูณ์ของป่าแต่ยังขาดการเก็บข้อมูลใหม่ ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการเข้าใจร่วมกันรวมถึงพี่เลี้ยงได้เสนอเน้นกิจกรรมเก็บข้อมูลเพื่อตอบตัวชี้วัดให้ได้