โครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม

ประชุมคณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูล30 เมษายน 2564
30
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ร่วมวางแผนการฟื้นฟูป่าควนเลียบ
  2. กำหนดแผนงานที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่.
  3. ภาคีร่วมวิเคราะห์การทำแผนงานอย่างมีส่วนร่วม
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ร่วมวางแผนการฟื้นฟูป่าควนเลียบ -เกิดการทำงานแผนงานร่วมกัน/ปลูกป่าเพิ่ม/การนำไปใช้ประโยชน์/แผนการดูแลโดยการมีส่วนร่วม 1.1 ประชาชนในพื้นที่คณะกรรมป่าชุมชน/ป่าปกปัก ตามพรบ ไม่น้อยกว่า 50 คน 1.2 องค์กรภายใน/ เทศบาลตำบลโคกม่วง/ผู้นำหมู่บ้านทั้ง 15 หมู่บ้านโดยชมรมกำนันผู้ใหญบ้านตำบลโคกม่วง/อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน ทสม 127 คน 1.3 องค์กรภายนอก/ป่าไม้จังหวัดพัทลุง/ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดพัทลุง
  2. กำหนดแผนงานที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่. -ร่วมกันกำหนดแผนเพื่อการพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านการเกษตรของตำบลโคกม่วง สามารถพัฒนาได้ตามกรอบ พรบป่าชุมชนโดยมีคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 50 คน
  3. ภาคีร่วมวิเคราะห์การทำแผนงานอย่างมีส่วนร่วม -แผนพัฒนาถนนเพื่อการท่องเที่ยว -แผนการเฝ้าระวังป้องกันการทำลายป่า -แผนการสำรวจความสมบูรณ์ของป่าและการนำไปใช้ประโยชน์(พืชสมุนไพร) โดยการมีส่วนร่วม 3 ฝ่าย จากการทำงานร่วม -คณะกรรมป่าชุมชน/ป่าปกปัก -องค์กรภายใน/ เทศบาลตำบลโคกม่วง/ผู้นำหมู่บ้านทั้ง 15 หมู่บ้านโดยชมรมกำนันผู้ใหญบ้านตำบลโคกม่วง/อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน -องค์กรภายนอก/ป่าไม้จังหวัดพัทลุง/ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดพัทลุง