โครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม

ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 217 กันยายน 2564
17
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ผู้รับผิดชอบโครงการ รายงานผลการดำเนินโครงการป่าควนเลียบ -คณะทำงานโครงการป่าควนเลียบ นำเสนอผลลัพธ์จากการดำเนินโครงการป่าควนเลียบ -ภาคีเครือข่าย เติมเต็มการทำงานที่มีส่วนร่วม -หน่วยจัดการพัทลุง เติมเต็มเพื่อการพัฒนาต่อการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ผู้รับผิดชอบโครงการป่าควนเลียบ คณะทำงานป่าควนเลียบ ภาคีเครือข่าย ร่วมทั้งหมด 15 คน -คณะทำงานนำเสนอผลลัพธ์ป่าควนเลียบ -ชุมชนบ้านควนเลียบ 50 % ของครัวเรือนมีความรู้สถานการณ์ป่าเสื่อมโทรของชุมชน -จากการดำเนินการมีครัวเรือนมีความรู้สถานการณ์ป่าเสื่อมโทรของชุมชน 58% -เกิดคณะทำงานฟื้นฟูป่าบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน -1.คณะกรรมการป่าชุมชน 15 คน 2.คณะทำงานจากชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านละ 1คน 3.เทศบาลตำบลโคกม่วง 4.เครือข่าย ทสม. ตำบลโคกม่วง -มีชุดข้อมูลป่าชุมชนบ้านควนเลียบในการใช้แก้ปัญหา -ชุดข้อมูลป่าชุมชนจากการสำรวจป่าปกปัก 17 ไร่จากพื้นที่ป่าสงวนทั้งหมด 223 ไร่
-เกิดกลไกคณะทำงานจัดการป่าบ้านควนเลียบ -1.คณะกรรมการป่าชุมชน 15 คน 2.คณะทำงานจากชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านละ 1คน 3.เทศบาลตำบลโคกม่วง 4.เครือข่าย ทสม. ตำบลโคกม่วง ทีมร่วมการขับเคลื่อน -มีจำนวนพันธุ์พืชเพิ่มขึ้นในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมไม่น้อยกว่า 120 ต้น/ไร่ -ปลูกป่าเพิ่ม 3,000 ต้น สำรวจเดิม 768 ต้น สำรวจใหม่พบ 32 ชนิดจำนวน 1,248 ต้น เฉลี่ย 295ต้น/ไร่ ที่ไม่รู้จักชื่อมากกว่า 100 ชนิด มากกว่า 500 ต้น -เกิดกติกาข้อตกลงที่ใช้ได้ของชุมชนในการฟื้นป่าบ้านควนเลียบ -1.ไม่โค่นหรือทำลายป่า 2.การปลูกป่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง 3.การนำทรัพยากรป่ามาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 4.เขตห้ามล่าสัตว์ทุกชนิด -เกิดแผนการปรับปรุงและสร้างสภาพแวดล้อมป่าและลำคลองให้มีความอุดมสมบูรณ์ -แผนการทำงานอย่างมีส่วนร่วม 1.การปลูกเพิ่มและการนำพืชสมุนไพรในพื้นที่มาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 2.การสร้างฝายชะลอน้ำทำให้น้ำอยู่ในพื้นที่ได้นานที่สุด 3.แผนการทำงานตามแผน พรบ.ป่าชุมชน (คณะกรรมการไม่น้อยกว่า 50 คน)เช่น ทางกั้นไฟ พื้นที่ด้านการกิจกรรมและห่อดูไฟ -จำนวนภาคีฟื้นป่าอย่างน้อย 5 ภาคส่วน -1.ป่าไม้จังหวัดพัทลุง 2.ทสจ.พัทลุง 3.เครือข่าย ทสม.ตำบลโคกม่วง 127 คน 4.เทศบาลตำบลโคกม่วง 5.คณะกรรมการป่าชุมชน 15 คน 6.เครือข่ายหมอพื้นบ้านจังหวัดพัทลุง 7.ทีมชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านตำบลโคกม่วง -เกิดกติกาชุมชนในการเฝ้าระวังความเสียหาย -1.ไม่โค่นหรือทำลายป่า 2.การปลูกป่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง 3.การนำทรัพยากรป่ามาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 4.เขตห้ามล่าสัตว์ทุกชนิด -เกิดฝ่ายขั้นน้ำเพื่อรักษาสภาแวดล้อมของป่าอย่างน้อย 2 ฝ่าย -เกิดฝ่ายในพื้นที่ 3 ตัวขยายผลลงพื้นที่เกาะทองสม 1 ตัวโดยการสนับสนุนของชมกำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านตำบลโคกม่วง -จำนวนป่าชุมชนที่เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10 % -ป่าชุมชนที่เพิ่มขึ้น 60 % -มีพันธุ์พืชอย่างน้อย 3 อย่าง (พืชใช้สอย พืชอาหาร พืชสมุนไพร)ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม
-พืชใช้สอย เช่น ทุ้งฟ้า ยอป่าเป็นต้น -พืชอาหาร เช่น สะต่อ มะม่วงหิมพานต์ ขี้เหล็ก จำปะดะ ลูกเนียงเป็รต้น -พืชสมุนไพร เช่น คนทีดำ อีแหวง ราชดัด เจ็ดหมูนเป็นต้น ผู้จัดการหน่วยพัทลุงอาจารย์ไพทูรย์ สองสมและคุณเสณี จ่าวิศูตรได้เติมเต็มในการขยายพื้นที่ป่า ที่หน้าจำดำเนินการได้มากกว่า 17 ในปี่ถัดไปเรื่องป่าร่วมยางเพราะจากการดำเนินงานโครงการป่าควนเลียบที่ผ่านมา มีพื้นที่ป่า ประมาณ 10% ของพื้นที่ทั้งหมดเพื่อให้การดำเนินโครงการที่สามารถขยายผลได้มากกว่า 10% แนวทางการดำเนินงานต่อคือการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางในพื้นที่ป่าควนเลียบพร้อมๆกับการสร้างฝายชะลอน้ำเพื่อการสร้างความสมบูรณ์ของป่าและการสร้างธนาคารต้นไม้ในพื้นที่เพิ่มให้มากยิ่งขึ้น ผู้รับผิดชอบโครงการนายเจริญศักดิ์ ชูสงได้กล่าวขอบคุณทุกๆฝ่ายที่ช่วยกันทำงานเพื่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของบ้านเราให้กลับมามีความสมบูรณ์ต่อไปและยังคงจะดำเนินงานต่อไป ปิดประชุม