ส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการขยะในแหล่งท่องเที่ยวโดยเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยวอำเภอกงหรา

กิจกรรมบริหารจัดการ(ประชุมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย)7 ตุลาคม 2563
7
ตุลาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย Chanakorn
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

08.30-09.00น.  ลงทะเบียน 09.00-09.10น.  กิจกรรมสันทนาการ(ไพลิน+พื้นที่โครงการชุมชนน่าอยู่) 09.10-09.20น.  เปิดกล่าวต้อนรับผู้ร่วมกิจกรรม(นายทวี เสนแก้ว ตัวแทนพื้นที่ดำเนินการชุมชนน่าอยู่) 09.20-09.45น.ทำความรู้จักชุดโครงการชุมชนน่าอยู่ผ่านสื่อวิดีทัศน์ 09.45-11.00น.  นำเสนอผลลัพธ์ชุดโครงการชุมชน่าอยู่ใน 8ประเด็น+สภาผู้นำ/สลับการแสดงความเห็นจากภาคีร่วมฯ -ประเด็นการจัดการขยะ+ประเด็นเศรษฐกิจ(นัฐพงค์) -ประเด็นลดละเลิกบุหรี่+ประเด็นลดอุบัติเหตุ(สมนึก) -ประเด็นบริโภคผัก+ประเด็นลดสารเคมีการเกษตร(ถาวร) -ประเด็นกิจกรรมทางกาย+ประเด็นทรัพยากร(ประเทือง) -ประเด็นสภาผู้นำ(ไพฑูรย์) 11.00-12.00น.  ทำความรู้จักยุทธศาสตร์พัทลุงกรีนซิตีและการดำเนินที่ผ่านมาภายใต้ชุดโครงการNFS(ไพฑูรย์)/ตัวแทนภาคีนำเสนอวิสัยทัศน์แนวทางการทำงานสู่พัทลุงกรีนซิตี้ 12.00-13.00น.  พักรับประทานอาหาร 13.00-13.15น.  กิจกรรมสันทนาการ(ไพลิน+พื้นที่ ร.ร.ขยะตำบลชะรัด) 13.15-14.30น.  แบ่งกลุ่มย่อยตามประเด็นดำเนินการโครงการNFS(พื้นที่ดำเนินการประเด็น+ภาคีร่วม+ชุมชนน่าอยู่)ภายใต้โจทย์ เราจะมีแนวทางทำงานร่วมกันอย่างไรเพื่อมุ่งไปสู่พัทลุงกรีนซิตี(ไพฑูรย์) -ประเด็นการจัดการน้ำ+ป่า(วิยะดา/อรุณ) -ประเด็นทรัพยากรชายฝั่ง(เบญจวรรณ/นราพงษ์) -ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อม(ถาวร/นัฐพงค์) -ประเด็นข้าว+พืชอาหารปลอดภัย(สมนึก/จุฑาทิป) -ประเด็นอาหารโปรตีนปลอดภัย(ประเทือง/สายพิณ) 14.30-15.30น.  นำเสนอแนวทางสร้างความร่วมมือการทำงานร่วมกันตามประเด็นโดยตัวแทนกลุ่มประเด็น 15.30-16.00น.  สรุปผลภาพรวม(สมนึก)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน3คน 2.ผู้ร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้กระบวนการสร้างความร่วมมือกับส่วนราชการ 3.ผู้ร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้การทำงานร่วมกับพื้นที่โครงการอื่น 4.ได้ร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงานของแต่ละพื้นที่เพื่อนำไปปรับใช้กับพื้นที่ของตัวเองได้