โครงการสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่เพื่อชุมพรน่าอยู่

1.4.1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าและบทเรียนระหว่างการดำเนินงานหน่วยจัดการระดับจังหวัด29 พฤศจิกายน 2022
29
พฤศจิกายน 2022รายงานจากพื้นที่ โดย Pallapa
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

บทเรียนรู้ด้านการบริหารหน่วยจัดการ: (1)การบริหารจัดการทีมหน่วยจัดการ
-ขอให้นำเสนอแผนภาพการจัดโครงสร้างทีมงานในปัจจุบันของหน่วยจัดการ ที่แสดงให้เห็นบทบาทและชื่อทีมงานตามโครงสร้าง พร้อมทั้งอธิบายว่าที่ผ่านมาท่านได้มีการปรับโครงสร้างอย่างไรบ้าง (ถ้ามี) -สรุปบทเรียนและข้อเรียนรู้ด้านการจัดโครงสร้างทีมงาน การกำหนดบทบาท รูปแบบการบริหารจัดการทีมหรือ workflow ในการทำงานภายในทีม ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรทำ ไม่ควรทำ อะไรเป็น  ข้อควรระวัง ข้อจำกัดและปัญหาอุปสรรค เงื่อนไขและปัจจัยสำคัญในการดำเนินงาน (2)สมรรถนะและศักยภาพหัวหน้าหน่วยจัดการและทีมงาน
-ขอให้ระบุชื่อหัวหน้าหน่วยจัดการและพี่เลี้ยงทุกคน และประเมินว่ามีสมรรถนะอะไรที่ทำได้ดีแล้วหรือต้องพัฒนาเพิ่มเติมโดยเฉพาะเรื่องการพัฒนาโครงการ ติดตามผลลัพธ์ (ARE) ถอดบทเรียน พร้อมทั้งอธิบายว่าที่ผ่านมาหน่วยจัดการได้มีการพัฒนาทีมงานอย่างไรบ้าง -สรุปบทเรียนและข้อเรียนรู้ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรทำ ไม่ควรทำ อะไรเป็นข้อควรระวัง ข้อจำกัดและปัญหาอุปสรรค เงื่อนไขและปัจจัยสำคัญในการพัฒนาศักยภาพทีมงาน (3)ข้อมูลผลลัพธ์การดำเนินงาน
-สรุปบทเรียนและข้อเรียนรู้ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรทำ ไม่ควรทำ อะไรเป็นข้อควรระวัง ข้อจำกัดและปัญหาอุปสรรค เงื่อนไขและปัจจัยสำคัญในการจัดการข้อมูลผลลัพธ์ทั้งในระดับโครงการย่อยและระดับประเด็นยุทธศาสตร์ ครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบเก็บข้อมูล การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล การนำใช้ประโยชน์จากข้อมูลผลลัพธ์ในการสร้างการเรียนรู้กับภาคียุทธศาสตร์และการปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยจัดการ
(4)บทเรียนและข้อเรียนรู้อื่นๆ (ถ้ามี)   2.เป้าหมาย/บันไดผลลัพธ์หน่วยจัดการในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์
-  ขอให้ประมวลความสำเร็จจากการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมา ตามบันไดผลลัพธ์หน่วยจัดการในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ที่หน่วยจัดการได้ตั้งเป้าหมายไว้ โดยขอให้อธิบายความสำเร็จในแต่ละตัวชี้วัดผลลัพธ์ให้ชัดเจน มีทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ และขอให้นำเสนอข้อมูลก่อนเริ่มโครงการ (Baseline) เปรียบเทียบกับข้อมูลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริงตามตัวชี้วัดผลลัพธ์
-  สรุปบทเรียนและข้อเรียนรู้สำคัญในช่วงที่ผ่านมา ที่ทำให้เกิดความสำเร็จ/ไม่สำเร็จในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุตามบันไดผลลัพธ์หน่วยจัดการในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งในส่วนที่เป็นปัจจัยสำคัญ เงื่อนไข ปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ไม่ควรทำ เพื่อจะได้เป็นข้อเรียนรู้สำหรับการปรับปรุงงานในช่วงเวลาที่เหลือ 


3) ผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการย่อยตามโมเดล - ขอให้ประมวลความสำเร็จจากการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมา ตามบันไดผลลัพธ์โครงการย่อยในทุกโมเดลที่หน่วยจัดการได้ตั้งเป้าหมายไว้ โดยขอให้อธิบายความสำเร็จในแต่ละตัวชี้วัดผลลัพธ์ให้ชัดเจน มีทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ และขอให้นำเสนอข้อมูลก่อนเริ่มโครงการ (Baseline) เปรียบเทียบกับข้อมูลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริงตามตัวชี้วัดผลลัพธ์
-  ขอให้จัดทำตารางสรุปผลลัพธ์โครงการย่อยทุกโครงการตามตัวชี้วัดบันไดผลลัพธ์ที่หน่วยจัดการได้ออกแบบเก็บข้อมูลจากโครงการย่อย เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการอธิบายความสำเร็จในแต่ละโมเดลที่ดำเนินการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บทเรียนโครงการย่อย : กำรเกิดผลลัพธ์โครงกำรย่อยและโมเดลต้นแบบที่สอดคล้องกับผลลัพธ์ของจังหวัด :  ) การเลือกพื้นที่และพัฒนาโครงการย่อย มีข้อเรียนรู้ว่ำ
1.1 กระบวนกำรเปิดรับข้อเสนอโครงกำรเป็นขั้นตอนที่ส ำคัญ Node Flagship ควรมีกระบวนกำร วิเครำะห์วิธีกำรในกำรประชำสัมพันธ์ให้กับกลุ่มเป้ำหมำยที่มีควำมสนใจในประเด็นที่ต้องกำร แก้ปัญหำหรือพัฒนำชุมชนของตนเองมำพูดคุยปัญหำ และพัฒนำข้อเสนอโครงกำร จำกกระบวนกำร นี้ จะท ำให้ Node Flagship ได้ชุมชนที่มีควำมต้องกำรในกำรพัฒนำชุมชนของตนเองอย่ำงแท้จริง
สำมำรถด ำเนินโครงกำรและบรรลุผลลัพธ์ตำมแนวทำงของส ำนักได้ 1.2 กำรพั ฒนำข้อเสนอโครงกำรเพื่อให้ได้มำซึ่งโครงกำรย่อยและผลลัพธ์โครงกำรย่อยตำมประเด็น ยุทธศำสตร์ ต้องมำจำกกำรวิเครำะห์ปัญหำในพื้นที่ที่ชัดเจน มีข้อมูลพื้นฐำนครบทุกมิติ ท ำให้สำมำรถ พัฒนำโครงกำรที่ก ำหนดผลลัพธ์ได้ชัดเจน ในกระบวนกำรดังกล่ำวจะส่งผลให้แกนน ำของโครงกำร ย่อยมีควำมรู้ควำมเข้ำใจต่อเป้ำหมำยตำมประเด็นยุทธศำสตร์ที่ด ำเนินกำร และสำมำรถพัฒนำ ข้อเสนอโครงกำรที่มีคุณภำพได้ รวมถึงมีควำมรู้ควำมเข้ำใจต่อกำรด ำเนินงำนเชิงผลลัพธ์ และสำมำรถ ออกแบบบริหำรโครงกำรได้ตำมแผนกำรด ำเนินงำนจนเกิดผลลัพธ์ตำมเป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ 1.3 กระบวนกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนโครงกำรที่จะประสบผลส ำเร็จได้ดีนั้น จะต้องเลือกพื้นที่มีปัญหำ และควำมต้องกำรสอดคล้องตรงตำมประเด็นยุทธศำสตร์อย่ำงแท้จริง และสอดคล้องตำมโมเดลของ หน่วยจัดกำร หรือบำงหน่วยจัดกำรเลือกพื้นที่ที่เผชิญวิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อจังหวัด เช่น จังหวัด ล ำปำงเลือกพื้นที่ที่วิกฤตหมอกควัน ซึ่งเกิดจำกควำมเห็นของภำคีเครือข่ำย และจะท ำให้เกิดควำม ร่วมมือของภำคีเครือข่ำยที่จะร่วมขยำยผลโมเดลต้นแบบในอนำคต เป็นต้น รวมถึงจะต้องเลือกพื้นที่ ที่แกนน ำโครงกำรย่อยเห็นถึงปัญหำและควำมส ำคัญในกำรขับเคลื่อนตำมโมเดลกำรด ำเนินงำนของ หน่วยจัดกำร และมีควำมพร้อมต่อกำรด ำเนินโครงกำร จึงจะท ำให้โครงกำรบรรลุผลตำมที่ก ำหนดไว้ 1.4 กำรพัฒนำข้อเสนอโครงกำรจะต้องน ำบันไดผลลัพธ์โมเดลเป็นแนวทำงในกำรชวนแกนน ำโครงกำร ย่อยพัฒนำโครงกำร ท ำให้เป้ำหมำยและตัวชี้วัดมีควำมชัดเจน และมีควำมสอดคล้องกับประเด็น ยุทธศำสตร์ 1.5 กำรพัฒนำโมเดลที่ประกอบด้วยตัวชี้วัด หรือกิจกรรมส ำคัญที่เป็นมำตรฐำนของกำรด ำเนินงำนต้องมำ จำกกำรถอดบทเรียนกำรด ำเนินงำนของพื้นที่ต้นแบบ และมีกำรน ำบริบทของพื้นที่ต้นแบบมำ วิเครำะห์เพื่อก ำหนดเกณฑ์กำรคัดเลือกพื้นที่ที่จะทดลองพัฒนำแต่ละโมเดล ซึ่งจะน ำไปสู่กำรพัฒนำ ข้อเสนอโครงกำรย่อยที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ของหน่วยจัดกำร 2) องค์ประกอบและคุณลักษณะของคณะท างานโครงการย่อย เป็นจุดเริ่มต้นและมีบทบำทส ำคัญต่อกำร ผลักดันและขับเคลื่อนงำนให้บรรลุผลลัพธ์ ได้มีข้อเรียนรู้ดังนี้
2.1 องค์ประกอบของคณะท ำงำนจะต้องมีควำมครบถ้วน ซึ่งจะเป็นใครบ้ำงนั้น จะมีควำมแตกต่ำงกันใน แต่ละประเด็นที่ด ำเนินกำร โดยมีข้อเรียนรู้ว่ำ  คณะท ำงำนจะต้องมีกำรแบ่งบทบำทชัดเจน โดยบทบำทที่ควรจะมีในแต่ละโครงกำร คือ คนวำงแผน ค้นหำกลุ่มเป้ำหมำย สร้ำงควำมร่วมมือกับกลุ่มเป้ำหมำยและภำคีอื่นๆ ในพื้นที่
2 จัดกำรข้อมูล (เก็บและวิเครำะห์) กระตุ้นติดตำมกลุ่มเป้ำหมำยอย่ำงต่อเนื่อง สื่อสำร ประชำสัมพันธ์ และพำกลุ่มเป้ำหมำยท ำกิจกรรม  กำรคัดเลือกคณะท ำงำนที่หลำกหลำยช่วงวัย และกำรก ำหนดเกณฑ์กำรคัดเลือกเข้ำมำเป็น คณะท ำงำนมีส่วนท ำให้กำรขับเคลื่อนโครงกำรมีประสิทธิภำพและบรรลุตำมบันไดผลลัพธ์ที่ วำงไว้ แต่ทั้งนี้ในช่วงก่อตัวเริ่มต้น ต้องควรเน้นบุคคลที่มีจิตอำสำ (มีใจ) เพรำะจะสำมำรถ เคลื่อนงำนไปได้แต่ถ้ำเลือกคณะท ำงำนจำกที่มีบทบำทหน้ำที่แต่ไม่มีใจก็เป็นอุปสรรคใน กำรขับเคลื่อนโครงกำร 2.2 คุณลักษณะส ำคัญของคณะท ำงำนโครงกำร จะต้องมีควำมมุ่งมั่นตั้งใจที่จะเรียนรู้ มีแรงบันดำลใจ เห็นควำมส ำคัญและเชื่อมั่นกำรด ำเนินงำนของโครงกำรจะสำมำรถสร้ำงกำรเปลี่ยนแปลงได้ มีควำม รับผิดชอบและมีวินัยในตนเอง สำมำรถคิดสร้ำงสรรค์กิจกรรมสุขภำพได้ 3) วิธีการท างานของคณะท างานโครงการย่อย มีข้อเรียนรู้ดังนี้ 3.1 มีกำรก ำหนดเป้ำหมำยที่ชัดเจนและทุกคนรับทรำบเข้ำใจตรงกัน
3.2 มีกำรแบ่งบทบำทภำรกิจชัดเจน โดยจะต้องเลือกคนให้เหมำะสมกับงำนตำมควำมถนัด เป็นสิ่ง ส ำคัญที่จะท ำให้กำรท ำงำนเกิดประสิทธิภำพ 3.3 มีกำรท ำงำนแบบมีส่วนร่วมตั้งแต่กำรร่วมคิด ร่วมท ำ ร่วมติดตำม โดยใช้แผนปฏิบัติกำรเพื่อควบคุม และก ำกับงำน
3.4 มีกำรใช้ข้อมูลในกำรท ำงำน (เช่น ข้อมูลสถำนกำรณ์ปัญหำ ข้อมูลผลลัพธ์ เป็นต้น) โดยน ำมำพูดคุย เพื่อน ำสู่กำรปรับปรุงงำนเป็นระยะตลอดโครงกำร
3.5 แกนน ำเป็นตัวอย่ำงที่ดีมีกำรพัฒนำตนเองและเป็นผู้น ำกำรเปลี่ยนแปลง 4) ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะส าคัญของคณะท ำงำนโครงกำรย่อยที่ส่งผลต่อกำรด ำเนินงำน มีดังนี้
4.1 ด้ำนควำมรู้ควำมเข้ำใจ มีดังนี้
 ควำมเข้ำใจผลลัพธ์ กำรด ำเนินงำนและกำรออกแบบกำรเก็บข้อมูลเพรำะจะท ำให้สำมำรถเก็บ ผลลัพธ์จำกกำรด ำเนินงำนได้ครบถ้วน
 ควำมรู้ควำมเข้ำใจกำรบริหำรจัดกำรโครงกำร โดยเฉพำะกำรจัดกำรเอกสำรทำงกำรเงินและ กำรใช้จ่ำยงบประมำณของโครงกำร  ควำมรู้ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ขับเคลื่อนของโครงกำรย่อย เช่น กำรปรับพฤติกรรมสุขภำพ ของผู้สูงอำยุ เป็นต้น
4.2 ด้ำนทักษะกำรด ำเนินงำน มีดังนี้
 ทักษะกำรด ำเนินงำนแบบมีส่วนร่วมของแกนน ำและกลุ่มเป้ำหมำย และกำรออกแบบกำร ประชุมที่สร้ำงส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง มีข้อมูลน ำเข้ำโดยเฉพำะข้อมูลส ำคัญตำมบันไดผลลัพธ์ ที่จะน ำมำพูดคุยเพื่อน ำมำปรับปรุงกำรด ำเนินงำน และก ำหนดบทบำทของคณะท ำงำนแต่ ละส่วน เพื่อให้สำมำรถขับเคลื่อนงำนต่อได้
 ทักษะกำรคลี่บันไดผลลัพธ์ เพื่อท ำควำมเข้ำใจโครงกำรร่วมกัน รวมถึงมีกำรประชุมพูดคุยถึง ผลลัพธ์กำรท ำงำนและปัญหำที่เกิดขึ้น เพื่อปรับปรุงและต่อยอดงำน 3  ทักษะกำรแสวงหำช่องทำงและประสำนควำมร่วมมือและสร้ำงกำรมีส่วนทั้งในชุมชนและภำคี เครือข่ำยภำยนอกชุมชนเพื่อผลักดันกำรด ำเนินงำนก้ำวไปข้ำงหน้ำอย่ำงต่อเนื่อง 5) การพัฒนาศักยภาพคณะท างานโครงการย่อย
5.1 กำรประเมินทักษะสมรรถนะรำยบุคคลของคณะท ำงำนโครงกำรเป็นบทบำทของหน่วยจัดกำร เพื่อให้ คณะท ำงำนโครงกำรเกิดกำรรับรู้และกำรพัฒนำยกระดับขีดควำมสำมำรถ 5.2 คณะท ำงำนโครงกำรย่อยจะต้องได้รับกำรพัฒนำศักยภำพที่เหมำะสมอย่ำงต่อเนื่องตำมช่วงระยะเวลำ ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมของโครงกำรส ำหรับน ำขับเคลื่อนงำนให้บรรลุตำมเป้ำหมำย ได้แก่ ควำมเข้ำใจ เรื่องบันไดผลลัพธ์ ผ่ำนสื่อในรูปแบบต่ำงๆ ให้แกนน ำเข้ำใจและปรับใช้กับกำรท ำงำนได้ ควำมพัฒนำ ควำมรู้ในประเด็นเฉพำะที่โครงกำรเลือกด ำเนินงำน กำรเตรียมควำมพร้อมเรื่องกำรส ำรวจข้อมูล กำร ใช้เครื่องมือ ARE , กำรจัดเก็บข้อมูล , กำรสร้ำงสรรค์กิจกรรมที่สำมำรถน ำไปสู่ผลลัพธ์ เป็นต้น
6) การจัดการข้อมูลของโครงการย่อย มีดังนี้
6.1 แกนน ำโครงกำรย่อยจะต้องรู้ว่ำมีข้อมูลส ำคัญอะไรบ้ำงที่จ ำเป็นส ำหรับกำรด ำเนินงำน ซึ่งข้อมูลส ำคัญ นี้จะต้องเป็นข้อมูลที่สอดคล้องตำมบันไดผลลัพธ์ โดยจะต้องมีข้อมูลตั้งต้น (baseline) และข้อมูลที่ แสดงถึงผลลัพธ์กำรเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลำ
6.2 กำรจัดกำรข้อมูลโครงกำรย่อยจะต้องเป็นระบบ (ตั้งแต่กำรออกแบบเก็บข้อมูล ใครเป็นผู้เก็บข้อมูล และผู้ประมวลข้อมูล กำรใช้ประโยชน์ของข้อมูล) ที่สำมำรถใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่ำงภำคี ปฏิบัติกำรในพื้นที่ (เช่น รพ.สต.) และโครงกำรย่อย รวมถึงกำรน ำใช้ข้อมูลเพื่อให้กลุ่มเป้ำหมำยเกิด ควำมตระหนักในกำรเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง เช่น สถำนะทำงสุขภำพรำยบุคคลที่สะท้อนโรคต่ำงๆ
ข้อมูลกำรเกิดอุบัติเหตุ เป็นต้น 6.3 กำรออกแบบเครื่องมือหรือแบบเก็บข้อมูลผลลัพธ์ควรออกแบบให้ชัดเจน ครอบคลุมตำมตัวชี้วัดใน บันไดผลลัพธ์ เก็บข้อมูลได้ง่ำยตำมบริบทของพื้นที่ และทีมพี่เลี้ยงจะต้องช่วยคณะท ำงำนโครงกำร ย่อย ทบทวนและปรับปรุงแบบเก็บข้อมูลผลลัพธ์ เพื่อให้เกิดควำมชัดเจน ถูกต้อง ครบถ้วนและ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ 6.4 กำรท ำให้โครงกำรย่อยเห็นควำมส ำคัญของกำรออกแบบเก็บข้อมูลผลลัพธ์ตำมตัวชี้วัดตั้งแต่ก่อนเริ่ม โครงกำร เพรำะจำกข้อเรียนรู้ที่ผ่ำนมำพบว่ำ โครงกำรย่อยมีจุดอ่อน/ช่องว่ำงในเรื่องนี้ แม้มีกำร ด ำเนินกำรขับเคลื่อนงำนได้ดี แต่ไม่มีข้อมูลหลักฐำนในเชิงปริมำณและคุณภำพ นอกจำกนี้พี่เลี้ยง จะต้องมีกำรชวนตั้งข้อสังเกต หรือ เอ๊ ะ อยู่เสมอถึงกำรจัดกำรข้อมูลของโครงกำรย่อย เช่น
“เก็บหรือยัง” “ข้อมูลเป็นอย่ำงไรบ้ำง” “ข้อมูลที่น่ำสนใจคืออะไร” “ได้น ำไปใช้ประโยชน์อย่ำงไร” 6.5 กำรเก็บข้อมูลและกำรคืนข้อมูล  ควรจัดกำรระบบข้อมูล และตั้งวงพูดคุยหรือสอบทำนควำมชัดเจนของข้อมูลผลลัพธ์ ทั้งระดับ โครงกำรย่อย ตั้งวงพี่เลี้ยงเพื่อประมวลและทบทวนควำมครบถ้วนชัดเจนของข้อมูลในแต่ละ โมเดล มีกำรสอบทำนข้อมูลร่วมกับตัวแทนโครงกำรย่อยกับหน่วยจัดกำร เมื่อพบว่ำข้อมูลใดไม่ ชัดเจนอำจจะมอบหมำยพี่เลี้ยงให้กลับไปชวนแกนน ำเก็บเพิ่มหรือประมวลใหม่จนได้ข้อมูลที่ 4 ชัดเจน และต้องใช้ข้อมูลสื่อสำรหรือส่งต่อ เพื่อให้ประโยชน์ร่วมกับภำคียุทธศำสตร์ส ำคัญที่จะ ก ำหนดแนวทำงกำรขยำยผลในอนำคต  คณะท ำงำนโครงกำรย่อยควรมีกำรคืนข้อมูลส ำคัญให้กับบุคลที่เกี่ยวข้อง เช่น (1) คืนข้อมูล รำยบุคคลให้กับทุกคน เช่น เรื่องควำมเค็มในอำหำรที่กลุ่มเป้ำหมำยก ำลังรับประทำนในวันนั้น
โดยใช้เครื่องตรวจวัดควำมเค็ม เป็นต้น (2) คืนข้อมูลรำยหมู่บ้ำน (3) คืนข้อมูลให้กับ คณะท ำงำน เป็นต้น  กำรคืนข้อมูลจะต้องชวนคุยกันถึงผลลัพธ์ ตัวชี้วัดของโครงกำรให้ชัดเจน และกำรติดตำมผล กำรด ำเนินงำนในแต่ละครั้งให้น ำเสนอข้อมูลทั้งเชิงคุณภำพ เชิงปริมำณและตัวเลข 7) การด าเนินกิจกรรมของคณะท างานโครงการย่อย
7.1 มีก ำหนดระยะเวลำในกำรด ำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรมชัดเจน และมีควำมเป็นไปได้เมื่อลงมือท ำ (ท ำได้ จริงๆ ในพื้นที่) เพื่อให้คณะท ำงำนทุกคนเข้ำใจและปฏิบัติตำมแผนงำนที่วำงไว้ร่วมกัน
7.2 มีกำรพูดคุยท ำควำมเข้ำใจกับกลุ่มเป้ำหมำย ผู้น ำชุมชน ผู้เกี่ยวข้องให้เข้ำใจในสิ่งที่คณะท ำงำนก ำลัง ด ำเนินกำรในหมู่บ้ำนนั้นๆ รวมถึงกำรรับฟังปัญหำ ควำมคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มเป้ำหมำย กำร ร่วมสร้ำงกฎ ก ำหนดกติกำข้อตกลงของชุมชนแบบมีส่วนร่วมที่คนในชุมชนได้ร่วมกันก ำหนดเอง และ ทุกคนมีส่วนร่วมรับรู้จนเกิดกำรยอมรับในกำรน ำไปปฏิบัติ เพื่อสร้ำงกำรเปลี่ยนแปลงและจัดกำร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกัน 7.3 กำรด ำเนินกิจกรรมจะต้องมีกระบวนกำรตำมขั้นตอนอย่ำงเป็นระบบ สอดคล้องตำมบันไดผลลัพธ์
และด ำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่อง สร้ำงกำรมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น กิจกรรมกำรบริหำรจัดกำรป่ำอย่ำง ต่อเนื่องทั้งปี (จังหวัดล ำปำง) เพรำะหำกไม่สำมำรถด ำเนินกำรต่อเนื่อง จะไม่สำมำรถเปลี่ยน พฤติกรรมกลุ่มเป้ำหมำยได้ 7.4 กำรด ำเนินกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะมีควำมแตกต่ำงตำมบริบททั้งของบุคคลและกิจกรรม
ดังนั้นคณะท ำงำนจะต้องค้นหำกิจกรรมที่เหมำะสม และด ำเนินแนวทำงนั้นอย่ำงต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมออกก ำลังกำยที่บ้ำนอย่ำงง่ำยๆ เพื่อให้กลุ่มเป้ำหมำยเป็นตัวเลือกกำรออกก ำลังกำย เป็นต้น 8) การสื่อสารของคณะท างานโครงการย่อย 8.1 คณะท ำงำนโครงกำรย่อยจะต้องมีกำรสื่อสำรควำมก้ำวหน้ำกำรด ำเนินงำนโครงกำร และควำมส ำเร็จ ที่แตกต่ำงจำกภำรกิจปกติของภำคียุทธศำสตร์ใน 3 กลุ่มส ำคัญ ได้แก่ (1) คณะท ำงำน (2) กลุ่ม เป้ำหมำย (3) ภำคีในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้อง โดยเป็นกำรสื่อสำรในช่องทำงต่ำงๆ อย่ำงต่อเนื่องสม่ ำเสมอ เช่น ไลน์ เฟสบุ๊ค เวทีประชุมต่ำงๆ เป็นต้น
8.2 หน่วยจัดกำรก ำหนดข้อตกลงด้ำนสื่อสำรผลลัพธ์กำรด ำเนินงำนกับโครงกำรย่อย โดยให้ทุกโครงกำร ย่อยจัดท ำภำพข่ำวกิจกรรมตำมสไตล์ และเผยแพร่ผ่ำนหน่วยงำน/องค์กร/เฟซบุ๊ค/ไลน์กลุ่มทั้งใน ระดับหน่วยจัดกำร ทีมสนับสนุนวิชำกำร และโครงกำรย่อย ท ำให้เกิดแรงกระเพื่อมในกำรกระตุ้นกำร ท ำงำนระหว่ำงพื้นที่และทีมพี่เลี้ยง สร้ำงกำรเรียนรู้ควำมก้ำวหน้ำและวิธีกำรท ำงำนของกลไก คณะท ำงำนผ่ำนสื่อภำพข่ำว และสะท้อนถึงพลังกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนศักยภำพ “เก่งขึ้น” และเรียนรู้
“มำกขึ้น” 5 9) การมีส่วนร่วมและการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกเหนือจำกกำรสร้ำงควำมมือ เฉพำะคณะท ำงำนโครงกำรย่อย กล่ำวคือ 9.1 คณะท ำงำนโครงกำรย่อยจะต้องได้รับควำมร่วมมือ และกำรสนับสนุนหนุนเสริมจำกภำคีปฏิบัติกำร ในพื้นที่ที่เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรขับเคลื่อนโครงกำร ร่วมพัฒนำศักยภำพโครงกำรย่อย เช่น
ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดที่ท ำให้ตัวชี้วัดเรื่องยุวเกษตรเกิดผลลัพธ์ที่ชัดเจน (กรณีจังหวัดนครปฐม) รวมถึงสร้ำงขวัญก ำลังใจและควำมเชื่อมั่นให้ชุมชน 9.2 คณะท ำงำนโครงกำรย่อยจะต้องท ำให้ภำคีเข้ำใจเป้ำหมำยกำรด ำเนินงำนตำมประเด็นยุทธศำสตร์ เห็นควำมส ำคัญและผลกระทบที่เกิดขึ้นหำกไม่ด ำเนินกำรในเรื่องนี้ รวมถึงกำรท ำเกิดกำรเรียนรู้ ร่วมกันขององค์กรชุมชน/หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ มีกำรวำงแผนและเข้ำใจแผนกำรท ำงำน ร่วมกัน ออกแบบและท ำงำนร่วมกัน โดยมีกำรระบุบทบำทของภำคีให้ชัดเจนว่ำจะเข้ำมำมีส่วนร่วม หรือเสริมหนุนเรื่องใด ในกิจกรรมหรือขั้นตอนใด ซึ่งเป็นปัจจัยส ำคัญที่จะท ำให้โครงกำรประสบ ควำมส ำเร็จ เช่น ชมรมผู้สูงอำยุระดับต ำบล โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพต ำบล โรงพยำบำลชุมชน
ช่ำงชุมชน นำยช่ำงเทศบำล/อบต. (กรณีจังหวัดชัยนำท ประเด็นผู้สูงอำยุ) 9.3 กำรเชื่อมแผนงำนระหว่ำงหน่วยงำนในพื้นที่จะช่วยท ำให้เกิดกำรบูรณำกำรงำนและข้อมูลรวมถึง ทรัพยำกรและงบประมำณในกำรหนุนเสริม ทั้งในส่วนวัสดุ อุปกรณ์ บุคลำกร ในระดับต ำบล อ ำเภอ
และจังหวัดในกำรท ำงำนร่วมกัน และร่วมกันชี้เป้ำหมำยประเด็นกำรแก้ไขปัญหำคุณภำพชีวิตที่ตรง ควำมต้องกำรและปัญหำบริบทของพื้นที่อย่ำงแท้จริงซึ่งจะไม่ใช่กำรเลือกจำกปัญหำของหน่วยงำน ใดหน่วยงำนหนึ่ง 9.4 หน่วยจัดกำรวิเครำะห์ถึงแหล่งทรัพยำกรที่สนับสนุนกำรด ำเนินงำนของโครงกำรย่อย เช่ น Node Flagship จังหวัดชัยนำท สนับสนุนเรื่องกำรขอรับงบประมำณจำกกองทุนฟื้นฟูสมรรถนะคนพิกำร และผู้สูงอำยุระดับจังหวัด ซึ่งมี อบจ. เป็นผู้ ดูแลกองทุนดังกล่ำวมำให้ปรับสภำพบ้ำนให้กับผู้สูงอำยุ ตำมแผน “ท ำให้” ที่แต่ละต ำบลต้นแบบเสนอขอ หรือรับกำรสนับสนุนกิจกรรมกำรส่งเสริมกำรออก ก ำลังกำยของเด็กนักเรียน ซึ่งได้รับโครงกำรอบรมกำรว่ ำยน้ ำและบุคคลำกรที่เป็นเจ้ำหน้ำที่พลศึกษำ ประจ ำอ ำเภอ (ส ำนักงำนกีฬำและกำรท่องเที่ยวจังหวัดชัยนำท) เข้ำมำร่วมด ำเนินกิจกรรมกับ โรงเรียนที่ Node Flagship จังหวัดชัยนำทสนับสนุนโครงกำร ทั้งนี้ เหตุผลส ำคัญที่ท ำให้ทรัพยำกร จำกภำคียุทธศำสตร์จังหวัดไปหนุนเสริมโครงกำรย่อยได้เป็นเพรำะ Node Flagship จังหวัดชัยนำท ท ำหน้ำที่เป็นตัวกลำงในกำรช่ วยเชื่อมประสำน และช่ วยจัดท ำเอกสำรส ำคัญส ำหรับขอรับ งบประมำณ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรของบจำกกองทุนฟื้ นฟูฯ ที่มีเอกสำรที่ค่อนข้ำงยุ่งยำก 10) การติดตามผลลัพธ์การด าเนินงาน (ARE ระดับชุมชน) โดยโครงกำรย่อยจะต้องมีกำรติดตำมและ สะท้อนผลกำรด ำเนินงำนเพื่อ วำงแผนกำรปรับปรุงงำน ซึ่งมีบทเรียนข้อเรียนรู้ดังนี้
10.1) กำรติดตำมควำมส ำเร็จโดยทีมวิชำกำร (พี่เลี้ยง) และทีมพี่เลี้ยงในพื้นที่
 พี่เลี้ยงจะต้องมีแผนกำรติดตำมที่ชัดเจน ด ำเนินกำรติดตำม กระตุ้น หนุนเสริมชุมชนอย่ำง ต่อเนื่อง (ลงพื้นที่ประมำณ 3-4 ครั้งตลอดระยะเวลำโครงกำร) โดยใช้ กำรติดตำม ประเมินผลเชิงผลลัพธ์ ท ำให้สำมำรถน ำผลกำรด ำเนินงำนมำออกแบบและปรับปรุงแนว ทำงกำรด ำเนินงำนของชุมชน รวมถึงพี่เลี้ยงจะต้องร่วมด ำเนินกำรชี้แจงโครงกำรกับ 6 โครงกำรย่อยในพื้นที่ในครั้งแรก เพื่อท ำให้คณะกรรมกำร กลุ่มเป้ำหมำยเข้ำใจแนวทำงกำร ด ำเนินงำนที่ชัดเจน และได้รับควำมร่วมมือในกำรด ำเนินงำน  พี่เลี้ยงต้องมีควำมเข้ำใจอย่ำงถ่องแท้ ชัดเจน ในขั้นตอนกระบวนกำร สำมำรถคลี่บันได ผลลัพธ์ได้อย่ำงดี ซึ่งจะสร้ำงควำมมั่นใจเกิดควำมร่วมมือได้ พี่เลี้ยงจึงควรมีส่วนร่วมในทุก กิจกรรม ในแง่กำรเสริมพลัง เสนอแนะ แนะน ำ ให้ค ำปรึกษำ กระตุ้น สร้ำงแรงจูงใจ โดยไม่ ท ำให้คณะท ำงำนและสมำชิกเกิดควำมรู้สึกว่ำถูกกดดัน ถูกจับผิด ซึ่งจะมีผลอย่ำงมำกต่อ ควำมส ำเร็จหรือล้มเหลวของโครงกำร  พี่เลี้ยงต้องมีกำรสนับสนุนให้ชุมชนเก็บข้อมูลผลลัพธ์ ของโครงกำรย่อยและหนุนเสริมให้มี กำรน ำข้อมูลที่เกิดขึ้นมำวิเครำะห์และตอบตัวชี้วัดตำมบันไดผลลัพธ์ได้ รวมถึงวิเครำะห์ ควำมเสี่ยงของโครงกำรย่อยที่อำจจะส่งผลต่อกำรด ำเนินงำนที่ไม่บรรลุตำมผลลัพธ์ เช่น
ข้อมูลสถำนกำรณ์และปัญหำต่ำงๆ ที่เกิดขึ้น ควรมีกำรน ำมำเปรียบเทียบและวิเครำะห์ให้ ชัดเจน และมีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่ำงพี่เลี้ยงและคณะท ำงำนโครงกำรย่อยอย่ำง สม่ ำเสมอ เพื่อทบทวนผลลัพธ์ ระหว่ำงด ำเนินโครงกำร  พี่เลี้ยงต้องมีแนวทำงกำรประเมินควำมเสี่ยงของโครงกำร ตั้งเกณฑ์ประเมินควำมเสี่ยงให้ ชัดเจน หรือใช้เครื่องมือของส ำนัก และประเมินเป็นระยะๆ เพื่อจะได้วำงแผนกำรหนุน เสริมได้ทันกับสถำนกำรณ์ของโครงกำรย่อย และควรน ำกระบวนกำร ARE ไปใช้ในกำร ติดตำมควำมก้ำวหน้ำโครงกำรและเสริมพลังชุมชนให้ทันต่อกำรแก้ปัญหำของโครงกำรย่อย รวมถึงสร้ำงควำมเข้ำใจในหน้ำที่ของแต่ละคนที่จะหนุนเสริมกำรด ำเนินงำนของโครงกำร ย่อยให้สำมำรถบรรลุผลลัพธ์ตำมบันได้ผลลัพธ์ให้กับทีมงำนหน่วยจัดกำร  พี่เลี้ยงแบ่งโครงกำรย่อยดูแลตำมเงื่อนไขที่เหมำะสม เช่น กำรแบ่งตำมสมรรถนะหรือ ควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญในประเด็นที่หน่วยจัดกำรขับเคลื่อน แบ่งตำมพื้นที่ที่พี่เลี้ยงสะดวก ต่อกำรไปติดตำมหนุนเสริมโครงกำรได้ต่อเนื่อง เป็นต้น
10.2) กำรติดตำมควำมส ำเร็จโดยแกนน ำโครงกำรย่อย มีกำรติดตำมควำมส ำเร็จเป็นประจ ำสม่ ำเสมอตำมบันไดผลลัพธ์ โดยแกนน ำโครงกำรย่อย จะต้องรู้ว่ำข้อมูลส ำคัญอะไรที่จะต้องน ำมำพูดคุยเพื่อติดตำมควำมส ำเร็จ หรือพูดคุยถึง ผลลัพธ์กำรท ำงำนและปัญหำที่เกิดขึ้น เพื่อปรับปรุงและต่อยอดงำน ระยะเวลำกำรติดตำมผลลัพธ์ ของกลุ่มเป้ำหมำย ควรเป็นตำมก ำหนดไว้ตำม Timeline แต่ อำจมีกลุ่มเป้ำหมำยบำงรำย รู้สึกว่ำคณะท ำงำนเข้ำไปติดตำมบ่อยเกินไป อำจปรับเปลี่ยน ตำมควำมสบำยใจของกลุ่มเป้ำหมำยเพื่อลดกำรขัดแย้งกัน 7