ส่งเสริมอาชีพ บ้านกาโต

ติดตามความก้าวหน้า ARE ครั้ง 228 มกราคม 2565
28
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.1. พี่เลี้ยงเตรียมอะไร
1.2. แกนนำโครงการเตรียมอะไร อย่างไร
1.3. พี่เลี้ยงสื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน 1.1. จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการร่วมระหว่างแกนนำชุมชม (คณะทำงาน กับพี่เลี้ยงในการลงพื้นที่ประชุมแกนนำชุมชนครั้งที่ 1 1.2. พี่เลี้ยงโทรนัดหมายผู้รับผิดชอบโครงการ และประสานคณะทำงานมีหน้าที่ในการประสานแกนนำในพื้นที่เพื่อความชัดเจนในการจัดการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาครั้งที่1หลังจากดำเนินงานโครงการ 3 เดือนผ่านระบบzoom 1.3.พี่เลี้ยงชวนตั้งวงการพูดคุยก่อนเริ่มดำเนินงาน แบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ 1.4. พี่เลี้ยงชี้แจงวัตถุประสงค์ในการประเมินผลครั้งนี้เพื่อการพเรียนและพัฒนาในการปรับแผนการดำเนินงานในงวดต่อไป 1.5. แกนนำ คณะทำงาน  กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม นำเสนอผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน 1.6. พี่เลี้ยงสรุปการประเมินผล เพื่อเป็นการทบทวน  ปรับแผนการดำเนินงาน 1.7. แกนนำ คณะทำงานสรุปนัดหมายการประชุมคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมายครั้งต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ80ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1.1. แกนนำโครงการ…3…คน 1.2. กลุ่มเป้าหมาย…4 คน 1.3. ภาคี…………--……คน 2.ปัญหาอุปสรรค (ต่อกระบวนการพี่เลี้ยง และชุมชน  และปัญหาอุปสรรคต่อผลลัพธ์) na ปัญหาเกิดขี้นจากสถานการณ์โควิคเป้าหมายของการทำอาชีพเย็บกระเป๋ากลุ่มเป้ายหมายคือเยาวชนในโรงเรียน เนื่องจากสถานการณืสถานศึกษาปิดมีการเรียนออนไลน์ เยาวชนไม่สามารถนำกระเป่าออกจำหน่ายได้ หากต้องการเปิดตลาดออนไลน์ไม่สามารถที่จะเย็บหรือออกแบบให้ทันกับโลโก้ดัง ๆ ๆเช่น กระเป๋าnalaya ได้ ทำให้รายงานเพิ่มส่วนใหญ่มาจากการขายผัก รายจ่ายลดลงจากการบริโภคที่ปลูก แนวทางแก้ไข คณะทำงานจัดการประชุมเพื่อวางแผนการดำเนนิงานการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ด้วยการปลูกผัก โอกาสของชุมชนหน่วยงานให้ความสนใจกลุ่มอาชีพเย็บกระเป๋าเป็นที่น่าสนใจของหน่วยงานภายนอก เช่นมูลนิธิรักษ์ไทยทราบปัญหาในการสนับสนุนอาชีพจัดการสนับสนุนจักรเย็บผ้าให้กับชุมชน 2 หลัง  หน่วยงานการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอมายอสนับสนุนวิทยากรเพิ่มเติมในการฝึกอบรมสตรี ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิคในการตัดเย็บเสื้อผ้า ส่วนหน่วยงานในพื้นที่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตรังนำแผนการสนับสนุนอาชีพผู้ได้รับผลกระทบบรรจุไวัในแผนพัฒนาตำบลท้องในการสนับสนุนต่อไป