โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด

การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง10 พฤศจิกายน 2565
10
พฤศจิกายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย kanokkarn
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานทั้ง 3 ท่านลงทะเบียน 2.แบ่งกลุ่มทบทวนผลลัพธ์รายประเด็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับภาคียุทธศาสตร์ -กลุ่มที่ 1 ประเด็นน้ำเสีย -กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการขยะ -กลุุ่มที่ 3 ประเด็นนาปลอดภัย -กลุ่มที่ 4 ประเด็นพืชร่วมยาง -กลุ่มที่ 5 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินโครงการในประเด็น -การจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์ -การบริหารจัดการทีมคณะทำงาน -การเชื่อมโยงการทำงานกับภาคี -การจัดการด้านการเงิน 4.สรุปผลการประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ผู้รับผิดชอบโครงการ เลขานุการ และเหรัญญิก เข้าร่วมเข้าร่วมการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจด้านการจัดการการเงินโครงการ สามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบันทึกโครงการ กิจกรรมในระบบได้