โครงการการจัดการน้ำเสียชุมชนวัดนิโครธาราม - คลองน้ำใส

กิจกรรมที่8. ประชุมกลไกเพื่อติดตามโครงการ ARE ครั้งที่117 มกราคม 2566
17
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย ลักขณา lakkana
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมกลไกเพื่อติดตามโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการชวนคุยตามบันไดผลลัพธ์
บันไดขั้นที่ 1 คนในชุมชนให้มีความตระหนักในเรื่องการจัดการน้ำเสียชุมชน บันไดขั้นที่ 2 เกิดกลไกขับเคลื่อนชุมลดน้ำเสียเข้มแข็ง บันไดขั้นที่ 3 เกิดรูปแบบการจัดการน้ำเสียครัวเรือน บันไดขั้นที่ 4 เกิดครัวเรือนจัดการน้ำเสีย บันไดขั้นที่ 5 เกิดระบบจัดการน้ำเสียไปยังพื้นที่ร่วมของชุมชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บันไดขั้นที่ 1 คนในชุมชนให้มีความตระหนักในเรื่องการจัดการน้ำเสียชุมชน ผลลัพธ์ 1. มี ข้อมูลน้ำเสียของครัวเรือนและชุมชน ก่อนและหลัง ในการดำเนินงานโครงการ ทำให้ครัวเรือนได้รับทราบข้อมูลน้ำเสียของครัวเรือนและชุมชน
เกิดการปฏิบัติการในครัวเรือนต้นแบบการจัดน้ำเสียในครัวเรือน 2.การเก็บข้อมูล นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ให้เห็นถึงปัญหา เกิดแผนการจัดการน้ำเสียในครัวเรือน 60 ครัวเรือน ใน3 รูปแบบ 1. ถังดักไขมันอย่างง่่าย 2. การเลี้ยงไส้เดือน 3. การเลี้ยงไส้เดือน 3. มีกิตกาชุมชนในการจัดการน้ำเสีย 1.มีการแยกขยะอินทรีย์ออกจากน้ำเสีย 2.ไม่ทิ้งขยะลงคู คลอง

บัดไดขั้นที่ 2 เกิดกลไกขับเคลื่อนชุมลดน้ำเสียเข้มแข็ง . ผลลัพธ์ 1. มีคณะทำงานที่มีส่วนร่วมจาก ท้องถิ่น ผู้นำชุมชนและตัวแทนครัวเรือนเข้าเป็นคณะทำงาน  รวมเป็นกลไกขับเคลื่อนโครงการ 25 คน มี การแบ่งงานและมอบหมายหน้าที่ในการดำเนินงาน มีการวางแนวทางการดำเนินงานโครงการ 2. มี ข้อมูลพฤติกรรมการใช้น้ำของครัวเรือน จากการเก็บข้อมูล ก่อนและหลัง ในการดำเนินงานโครงการ 3. มีแผนผังทางน้ำชุมชน

บันไดขั้นที่ 3 เกิดรูปแบบการจัดการน้ำเสียครัวเรือน ผลลัพธ์ 1. มีถังดักไขมันอย่างง่าย 2. มีธนาคารน้ำใต้ดิน 3. มีแผนติดตามการจัดน้ำเสียชุมชน โดย การ ตรวจวัดคุณภาพน้ำ

บันไดขั้นที่ 4 เกิดครัวเรือนจัดการน้ำเสีย

บันไดขั้นที่ 5 เกิดระบบจัดการน้ำเสียไปยังพื้นที่ร่วมของชุมชน

ในการดำเนินงานโครงการ ยัง เกิด ผลลัพธ์ ที่มีการอบรมการจัดการน้ำเสียในครัวเรือน การจัดการน้ำเสียชุมชน เรียนรู้การวัดค่าน้ำเสีย