(01)ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

จัดเก็บข้อมูลสถานการณ์เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาสุขภาพชุมชนพัฒนาระบบฐานข้อมูลรายหมู่บ้าน ครั้งที่ 221 กุมภาพันธ์ 2566
21
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย วิรงค์รอง เอาไชย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงพื้นที่ในหมู่บ้านเพื่อจัดทำข้อมูลกลุมเสี่ยงป่วย กลุ่มป่วยและกลุ่มสงสัยป่วย ที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 6 หมู่บ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ข้อมูลสถานการณ์การประเมินผลการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน หมู่ที่ 1,6,11,13,18, และหมู่ที่ 19  และพบปัญหาจากการลงพื้นที่ที่คาดว่าจะเป็นอุปสรรคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาเป็นฐานข้อมูลของผู้เข้าร่วมโครงการดังนี้ หมู่ที่ 1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 22 คน หญิง 19 คน ชาย 3 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย
  2. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 1 ราย
  3. ไขมันในเลือด 2 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 13 คน
  4. ความดันและ BMI 1 คน
  5. รอบเอวเกิน 15 คน
  6. ปกติ 4 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  7. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  8. กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน
  9. ไม่ออกกำลังกาย
  10. พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  11. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักและรอบเอวลดลง
  12. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ
  13. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน
  14. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม
  15. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค
  16. ยังคงมีบางคู่ที่ยังไม่มีการปรับเปลี่ยน คณะทำงานได้คอยติดตามและให้กำลังใจในการร่วมกิจกรรมกับคู่บัดดี้
  17. เวลาว่างจากการทำงานไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกันกับคู่บัดดี้ได้
  18. มีโรคประจำตัว หรืออาการบาดเจ็บไม่สามารถทำกิจกรรมได้ สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่นศาลาหมู่บ้าน ม.1 ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) หมู่ที่ 6 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 27 คน หญิง 25 คน ชาย 2 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 6 ราย
  19. โรคหัวใจและหลอดเลือด 1 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 9 คน
  20. รอบเอวเกิน 7 คน
  21. ไขมันเลว 2 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  22. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  23. ไม่ออกกำลังกาย
  24. พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  25. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน
  26. มีการกระตุ้นกันคู่บัดดี้อย่างสม่ำเสมอ
  27. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน
  28. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม
    สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่น ศาลาหมู่บ้าน ม.6 และที่ รพ.สต. ในการเต้นบาสโลบ และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ หมู่ที่ 11 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 21 คน หญิง 20 คน ชาย 1 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. โรคประจำตัว เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 6 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 9 คน
  29. รอบเอวเกิน 8 คน
  30. ไขมันรวม 6 คน
  31. ไขมันเลว 3 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  32. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  33. ความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง
  34. ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  35. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักลดลงจำนวน 10 คน คงที่ 4 คน
  36. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นเตือน ชักชวนกันอย่างสม่ำเสมอ
  37. มีการทำกิจกรรมร่วมกันอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน เช่น วิ่ง เต้นแอโรบิค ฮูลาฮุบ
  38. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง โดยการชักชวนของ อสม. มีการแลกเปลี่ยนผักที่ปลูกกันในหมู่บ้าน
  39. อสม.แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องปรุงรส ลด ละ เลิก
    ปัญหาอุปสรรค
  40. ยังคงมีบางคู่ที่ยังเฉยชา  อสม.ได้คอยติดตาม ให้กำลังใจ สร้างแรงบันดาลใจในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โดยใช้กลยุทธ์ร่วมกิจกรรมกับคู่บัดดี้ของตน สถานที่ออกกำลังกาย ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) รวมถึงการใช้พื้นที่วิ่งบนถนนในหมู่บ้าน หมู่ที่ 13 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 16 คน หญิง 10 คน ชาย 6 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วยจำนวน 4 ราย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย
    1. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 3 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน และรอบเอวเกิน 9 คน
    2. เบาหวาน 1 คน
    3. ปกติ 2 คน
      การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  41. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน
  42. ไม่ออกกำลังกาย
  43. พักผ่อนน้อย มีความเครียด
  44. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามี น้ำหนักลด 2-3 กก. รอบเอวลด 2-5 ซม.จำนวน 2 ราย ลดน้ำหนักได้เยอะสุด ลด 6 กก. จำนวน 1 คน และลดได้ 4.5 กก. จำนวน 1 คน
  45. ควบคุมการรับประทานอาหาร ทานน้อยลง ปรับเปลี่ยนรูปแบบอาหารเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ(กินคลีน) ลดอาหารไขมันสูง
  46. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง
  47. มีการทำกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน แรงบันดาลใจจากในกลุ่ม
  48. อสม.พยอม สุขหลังสวน จากที่ก่อนเข้าร่วมโครงการ น้ำหนักตัว 80 กก. มีรอบเอว 109 ซม. จากการติดตาม 3 เดือน พบว่า ลดน้ำหนักลงไป 6 กก. รอบเอวลดลง 8 ซม. สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬา อบต.นาสัก และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน) หมู่ที่ 18 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 12 คน หญิง 9 คน ชาย 3 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือด 5 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 12 คน
  49. รอบเอวเกิน 10 คน วิเคราะห์จากผลเลือด 1. ไขมันในเลือดสูง 8 คน
    1. ไขมันเลว 8 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  50. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม กินอาหารจุกจิก กินแล้วนอน
  51. กินเหล้า สูบบุหรี่ มีความเสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
  52. ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนน้อย ทำงานหนัก มีความเครียด
  53. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนัก และรอบเอวลดลง 5 คน
  54. อสม.และคู่บัดดี้ คอยกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ
  55. มีการทำกิจกรรมร่วมกันอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3-5 วัน เช่น วิ่ง เต้นคาดิโอ ฮูลาฮุบ บางคู่ยังเฉยชาต่อการชักชวนของบัดดี้ อสม.ได้คอยช่วยเหลือสร้างแรงบันดาลใจ
  56. ปรับการรับประทานอาหาร ลดอาหารรสหวาน ขนม น้ำอัดลม อสม.เป็นแบบอย่างในการไม่ใช้เครื่องปรุงรสในครัวเรือน ชักชวนให้คู่บัดดี้ ลดการใช้ไปด้วย
  57. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค
  58. เวลาว่างจากการทำงานไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกันกับคู่บัดดี้ได้
  59. ยังไม่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพ ไม่ยอมรับการปรับเปลี่ยน ไม่เกิดแรงบันดาลใจ สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬาในหมู่บ้าน เช่น ศาลาหมู่บ้าน ม.18 ใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้สลับกัน หมู่ที่ 19 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 22 คน หญิง 17 คน ชาย 5 คน มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงดังนี้ เป็นผู้ป่วย 1. เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมัน 1 ราย
  60. ความดันโลหิตสูงและไขมัน 1 ราย
  61. ความดันโลหิตสูง 1 ราย
  62. ไขมันในเลือด 1 ราย เป็นกลุ่มเสี่ยง 1. BMI เกิน 9 คน
  63. ความดันและ BMI 3 คน
  64. รอบเอวเกิน 15 คน
  65. ปกติ 4 คน การวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง
  66. กินอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
  67. การดื่มเหล้า สูบบุหรี่
  68. มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
  69. ไม่ออกกำลังกาย/ไม่เพียงพอ
  70. มีความเครียด ทำงานหนัก
  71. กรรมพันธุ์ ประเมินการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 เดือน พบว่ามีน้ำหนักและรอบเอวลดลง จากการติดตามจำนวน 20 คน
  72. คู่บัดดี้มีการกระตุ้นกันอย่างสม่ำเสมอ ให้การช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม
  73. มีการทำกิจกรรมร่วมกัน เช่นการปั่นจักรยาน
  74. ปรับการรับประทานอาหาร เช่นทาน 2 มื้อ เน้นทานผักมากๆ
  75. มีการปลูกผักในครัวเรือนไว้กินเอง ปัญหาอุปสรรค
  76. อสม.และคู่บัดดี้ไม่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เพราะไม่มีเวลา(บางคู่) สถานที่ออกกำลังกาย ใช้ลานกีฬา อบต.นาสัก และใช้สถานที่ของบ้าน อสม.และคู่บัดดี้ (บางคู่สลับกัน)