โครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

กิจกรรมที่ 8 การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น19 กุมภาพันธ์ 2566
19
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย ส่งเสริมอาชีพบางกล่ำ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ (ต้องเตรียมอะไรบ้าง) จากคลี่โครงการ กิจกรรมที่ 8 : เวที การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น วันที่ : 16 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 16:00 - 18.00 น. ณ กลุ่มวิสาหกิจสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า

ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 9 คน วิทยากร : นางมาลินี นวลจันทร์ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 10.00 น.-16.30. น. ณ สนง.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา วัตถุประสงค์ :
  1. เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร   2. เพื่อทราบวิธีการทำผักทอดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น   3. เพื่อต้องการทราบความต้องการของผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการชิมผักทอด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566   1. มีคณะทำงาน จำนวน 4 คน   2. แกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 4 คน   3. มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. สูตรวิธีการทำผักทอด ผลลัพธ์ :   1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 4 คน ที่ร่วมเรียนรู้   2. เกิดแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 4 คน ร่วมเรียนรู้กับทางวิทยากร   3. เกิดโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. เกิดสูตรวิธีการทำผักทอด วิธีดำเนินงาน : 1. นาเตือนจิต ศรีสวัสด์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นาสาวเกวลิน สุขสว่างไกร จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องอาหารว่าง เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้สาธิต และกระบวนการสาธิตการทำผักทอด,จดสูตรการทำผักทอดแต่ละสูตร ในการทดลอง 4. นางสาวจำเนียร กุลนิล เตรียมหาผักที่ใช้ทอดกรอบ
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
  1. แบบประเมินให้ทดลองชิมผักแต่ละชนิด
วิธีการเก็บตัวชี้วัด :   1. มีแบบประเมินถามความรู้สึกผักแต่ละชนิดที่กลุ่มเข้าร่วมได้ชิม และประเมินแต่ละสูตรว่าสูตรใดเหมาะสม กับผักชนิดใด
เวลาที่เก็บตัวชี้วัด : 16 กุมภาพันธ์ 2566

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม เวที การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น วันที่ : 16 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 16:00 - 18.00 น. ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 9 คน วิทยากร : นางมาลินี นวลจันทร์ มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
1. คณะทำงานจำนวน 4 คน 2. แกนนำ ม.3 ต.แม่ทอม 1 คน นางสาวจำเนียร กุลนิล 3. สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 3 คน

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 1.กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญ ของโครงการ โดยนางเตือนโดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 2.เปิดเวทีชี้แจงกิจกรรมโครงการให้แก่กลุ่มเป้าหมายเข้าใจในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 3.วิทยากรแนะนำวัสดุ อุปกรณ์ และส่วนผสมแป้งทอดกรอบผักตามปริมาณที่กำหนด เทคนิคการใช้ไฟทอดกรอบ โดยนางมาลินี นวลจันทร์ (วิทยากร) 4.ผู้เข้าร่วมกันทดลองทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ พร้อมเสนอแนะ (สมาชิกผู้เข้าร่วม)

ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความสนใจ และร่วมกันทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ
2.เกิดสูตรการทอดผักทอด 3 สูตร 1. แป้ง+น้ำ อย่างละเท่ากัน 2.แป้ง+น้ำ+เกลือ 1 ช้อนชา 3. แป้ง+น้ำปูนใส+เกลือ 1 ช้อนชา เป็นความรู้ให้แก่สมาชิกเข้าร่วม 3. เกิดผักที่สามารถทอดได้คุณภาพดี เช่น ดอกแค ดอกอัญชัน ผักเคล ผักบุ้งจีน ใบชะพูล ใบหม่อน ผักหวาน ใบผักน้ำ ใบตำลึง ใบกระท่อม ผักและผลไม้ที่ไม่ได้ผลเท่าที่ควร เช่นมันเทศ ปลีกล้วย ลูกกล้วย 4. เกิดข้อสรุปว่าได้สูตรที่จะใช้ในการ ผลผลิต :   1. มีคณะทำงาน จำนวน 4 คน   2. แกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 4 คน   3. มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. สูตรวิธีการทำผักทอด ผลลัพธ์ :   1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 4 คน ที่ร่วมเรียนรู้   2. เกิดแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 4 คน ร่วมเรียนรู้กับทางวิทยากร   3. เกิดโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. เกิดสูตรวิธีการทำผักทอด วิธีดำเนินงาน : 1. นาเตือนจิต ศรีสวัสด์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นาสาวเกวลิน สุขสว่างไกร จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องอาหารว่าง เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้สาธิต และกระบวนการสาธิตการทำผักทอด,จดสูตรการทำผักทอดแต่ละสูตร ในการทดลอง 4. นางสาวจำเนียร กุลนิล เตรียมหาผักที่ใช้ทอดกรอบ
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
  1. แบบประเมินให้ทดลองชิมผักแต่ละชนิด
วิธีการเก็บตัวชี้วัด :   1. มีแบบประเมินถามความรู้สึกผักแต่ละชนิดที่กลุ่มเข้าร่วมได้ชิม และประเมินแต่ละสูตรว่าสูตรใดเหมาะสม กับผักชนิดใด
เวลาที่เก็บตัวชี้วัด : 16 กุมภาพันธ์ 2566

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม เวที การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น วันที่ : 16 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 16:00 - 18.00 น. ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 9 คน วิทยากร : นางมาลินี นวลจันทร์ มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
1. คณะทำงานจำนวน 4 คน 2. แกนนำ ม.3 ต.แม่ทอม 1 คน นางสาวจำเนียร กุลนิล 3. สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 3 คน

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 1.กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญ ของโครงการ โดยนางเตือนโดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 2.เปิดเวทีชี้แจงกิจกรรมโครงการให้แก่กลุ่มเป้าหมายเข้าใจในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 3.วิทยากรแนะนำวัสดุ อุปกรณ์ และส่วนผสมแป้งทอดกรอบผักตามปริมาณที่กำหนด เทคนิคการใช้ไฟทอดกรอบ โดยนางมาลินี นวลจันทร์ (วิทยากร) 4.ผู้เข้าร่วมกันทดลองทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ พร้อมเสนอแนะ (สมาชิกผู้เข้าร่วม)

ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความสนใจ และร่วมกันทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ
2.เกิดสูตรการทอดผักทอด 3 สูตร 1. แป้ง+น้ำ อย่างละเท่ากัน 2.แป้ง+น้ำ+เกลือ 1 ช้อนชา 3. แป้ง+น้ำปูนใส+เกลือ 1 ช้อนชา เป็นความรู้ให้แก่สมาชิกเข้าร่วม 3. เกิดผักที่สามารถทอดได้คุณภาพดี เช่น ดอกแค ดอกอัญชัน ผักเคล ผักบุ้งจีน ใบชะพูล ใบหม่อน ผักหวาน ใบผักน้ำ ใบตำลึง ใบกระท่อม ผักและผลไม้ที่ไม่ได้ผลเท่าที่ควร เช่นมันเทศ ปลีกล้วย ลูกกล้วย 4. เกิดข้อสรุปว่าได้สูตรที่จะใช้ในการทดลองทำผักทอด ในวันที่19 กุมภาพันธ์ 2566 กับกลุ่มเป้าหมาย และผู้เข้าร่วมกิจกรรม ข้อเสนอแนะ 1.สูตรการทำผักทอดยังไม่คงที่ 2.ยังมีน้ำมันคงเหลือในผักทอด อมน้ำมันอยู่ 3.ปรึกษาหน่วยงานหรือองค์กรที่มีความรุู้ในเรื่องการสลัดเอาน้ำมันออกจากผักทอด อีกครั้ง งบประมาณ
จำนวนเงิน - บาท

ผลผลิต : วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566   1. มีคณะทำงาน จำนวน 5 คน   2. แกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 35 คน   3. มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. สูตรวิธีการทำผักทอด ผลลัพธ์ :   1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 5 คน ที่ร่วมเรียนรู้   2. เกิดแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 35 คน ร่วมเรียนรู้กับทางวิทยากร   3. เกิดโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. เกิดสูตรวิธีการทำผักทอด   5. เกิดภาคีเครือข่าย 2 องค์กร วิธีดำเนินงาน : 1. นาเตือนจิต ศรีสวัสด์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นาสาวเกวลิน สุขสว่างไกร จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องอาหารว่าง เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้สาธิต และกระบวนการสาธิตการทำผักทอด,จดสูตรการทำผักทอดแต่ละสูตร ในการทดลอง 4. นางสาวจำเนียร กุลนิล เตรียมหาผักที่ใช้ทอดกรอบ
5. นายธนบดี เจริญผล เก้บข้อมูลสัมภาษณืบุคคลที่ได้ชิมผักทอด 6. กลุ่มสมาชิกได้นำผักมาทดลองใช้ทอด ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
  1. แบบประเมินให้ทดลองชิมผักแต่ละชนิด   2. แบบประเมินผักแต่ละชนิดที่สามารถทอดได้ วิธีการเก็บตัวชี้วัด :   1. มีแบบประเมินถามความรู้สึกผักแต่ละชนิดที่กลุ่มเข้าร่วมได้ชิม และประเมินกับผักชนิดใดที่เหมาะสม
เวลาที่เก็บตัวชี้วัด : 19 กุมภาพันธ์ 2566

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม เวที การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น วันที่ : 19 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 10:00 - 16.30 น. ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 40 คน วิทยากร : นางมาลินี นวลจันทร์ มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
1. คณะทำงานจำนวน 5 คน 2. คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ม.1-4 ต.แม่ทอม 1 กลุ่ม 3. เด็กนักเรียนในตำบลแม่ทอม ที่รับมารับทุนการศึกษา จาก กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ม.1-4 ต.แม่ทอม
3. สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 35 คน ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความสนใจ และร่วมกันทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ
2.เกิดสูตรการทอดผักทอด 1 สูตร 1.แป้ง+น้ำเย็นหรือน้ำโซดา+เกลือ 1 ช้อนชา เป็นความรู้ให้แก่สมาชิกเข้าร่วม 3. เกิดผักที่สามารถทอดได้คุณภาพดี เช่น ดอกแค ดอกอัญชัน ผักเคล ผักบุ้งจีน ใบชะพูล ใบหม่อน ผักหวาน ใบผักน้ำ ใบตำลึง ใบกระท่อม แครอท ผักโขม
4. เกิดข้อสรุปว่าได้สูตรที่ใช่ จากการประเมินของผู้เข้าร่วม ผลลัพธ์ 1. นาเตือนจิต ศรีสวัสด์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นาสาวเกวลิน สุขสว่างไกร จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องประสาน อาหารเที่ยง อาหารว่าง เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้สาธิต และกระบวนการสาธิตการทำผักทอด,จดสูตรการทำผักทอดแต่ละสูตร ในการทดลอง 4. นายธนบดี เจริญผล เก้บข้อมูลสัมภาษณืบุคคลที่ได้ชิมผัก/และถ่ายคลิป ขั้นตอนการแปรรูป 5. ได้ข้อเสนอแนะ เช่นมีน้ำมันในผักทอดเยอะเกิน ไม่น่ารับประทาน / ควรนำไปขายที่ตลาดนัด 100 ปีวัดคูเต่า
6. ใบช้าพูลอร่อยมาก พริกๆร้อนๆ กรอบดี
7. อยากให้ทางกลุ่มผลิตออกขายทั้งออนไลน์ หรือออนไซต์ ในกลุ่มไลน์หมู่บ้าน
8. ราคาไม่ควรแพง เช่น 10 -20 บาทไม่เกินนี้ 9. กินกับน้ำจิ้มจะอร่อยมาก กรอบ
ข้อเสนอแนะ 1.สูตรการทำผักทอดยังไม่คงที่ 2.ยังมีน้ำมันคงเหลือในผักทอด อมน้ำมันอยู่ 3.ปรึกษาหน่วยงานหรือองค์กรที่มีความรุู้ในเรื่องการสลัดเอาน้ำมันออกจากผักทอด อีกครั้ง 4. เมื่อเก็บไว้ข้ามคืน ผักทอดจะไม่กรอบ
งบประมาณ
จำนวนเงิน  16,750 บาท