โครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด

ดะวะห์เด็ก อบรมจริยธรรม ต้านภัยยาเสพติด1 กันยายน 2566
1
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย muhammad25
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 08.30 น. – 12.00 น. เดินทางไป เขื่อนบางลาง (สถานที่ดะวะห์ ฝึกอบรม) / อาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 12.00 น. – 13.30 น. เข้าที่พัก / รับประทานอาหารเที่ยง / ปฏิบัติศาสนกิจ เวลา 13.00 น. – 16.00 น. ทำความเข้าใจโครงการ โดย นายมูฮัมหมัด ดือราโอะ ผู้รับผิดชอบโครงการ
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย วิทยากรจิตอาสา
- ความคาดหวัง - บทบาท/หน้าที่ ของเยาวชน รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 16.00 น. – 18.00 น. พัก / ปฏิบัติศาสนกิจ / รับประทานอาหารเย็น เวลา 18.00 น. – 21.00 น. ปฏิบัติศาสนกิจ
        บรรยายธรรม “บทบาทหน้าที่ของเด็กเยาวชน ในหลักการศาสนาอิสลาม”  โดย บาบอยูโซ๊ะ อาแซ

วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 05.00 – 06.30 น. ปฏิบัติศาสนกิจ
        บรรยายธรรม “จิตอาสา” โดย นายซอและ มะสอลา เวลา 06.30 – 08.30 น. พักตามอัธยาศัย / รับประทานอาหารเช้า / เวลา 08.30 – 12.00 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย วิทยากรจิตอาสา - ทบทวนกิจกรรม วันที่ 1 - แผนที่เดินดิน วิเคราะห์ปัญหาชุมชน
รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 12.00 – 13.30 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง / ปฏิบัติศาสนกิจ เวลา 13.30 – 16.00 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ต่อ) และนำเสนอการแลกเปลี่ยน เวลา 16.00 – 18.00 น. พัก / ปฏิบัติศาสนกิจ / รับประทานอาหารเย็น เวลา 18.00 น. – 21.00 น. ปฏิบัติศาสนกิจ
บรรยายธรรม “ครอบครัวอบอุ่น” โดย บาบอยูโซ๊ะ อาแซ วันที่ 3 กันยายน 2566
เวลา 05.00 – 06.30 น. ปฏิบัติศาสนกิจ
บรรยายธรรม “จิตอาสา” โดย นายซอและ มะสอลา เวลา 06.30 – 08.30 น. พักตามอัธยาศัย / รับประทานอาหารเช้า
เวลา 08.30 – 12.00 น. เวทีสรุปกิจกรรมร่วมกัน / รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 12.00 – 13.30 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง / ปฏิบัติศาสนกิจ เวลา 13.30 น. เดินทางกลับ / รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เยาวชนได้เรียนรู้หลักคำสอนที่ถูกต้องเกี่ยวกับสิ่งเสพติด
  2. เยาวชนมีความตระหนักรักบ้านเกิดมากขึ้น
  3. เยาวชนเรียนรู้การอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความหลากหลาย การพึ่งพากัน ช่วยเหลือกัน
  4. เยาวชนเรียนรู้เครื่องมือในการที่จะพัฒนาชุมชน 2 เครื่องมือ 1. แผนที่ชุมชนน 2. การวิเคราะห์ปัญหา
  5. เกิดกลุ่มเยาวชน ทั้ง 6 หมู่บ้าน และได้เชื่อมโยงเยาวชนกับสภาเด็กและเยาวชนตำบลรูสะมิแล เพื่อที่จะได้ประสานเป็นเครือข่ายการทำงานด้านเด็กและเยาวชนในอนาคต
  6. เยาวชนรู้ว่าตัวเองมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาตัวเอง พัฒนาครอบครัว พัฒนาชุมชนและสังคมของตัวเอง และกำหนดชีวิตของตัวได้