การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)

เวทีประเมินเพื่อนการเรียนรู้และปนะเมิน (ARE)13 พฤศจิกายน 2566
13
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย pakyoon
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประสานงานเชิญคณะทำงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชาวประมง ผู้นำชุมชน
  2. ทบทวนกิจกรรมที่ดำเนินการมาแล้ว เพื่อหาผลลัพธ์และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง
  3. วางแผล พัฒนา กลไก การทำงานที่ยังไม่ดำเนินการเพื่อให้ตรงตามวัตถุประสงค์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดคณะทำงานจำนวน 23 คน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนจำนวน 7 คน ชาวประมง 7 คน หน่วยงานรัฐ 5 หน่วยงาน หน่วยงานท้องถิ่น 4 คน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น วางแผน ดำเนินโครงการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรชายฝั่ง สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและนักเรียน
  2. มีความร่วมมือ มีการคิดค้นแบบใหม่ของบ้านปลา
  3. มีสภากกาแฟในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน
  4. มีการประชมสัมพันธ์มากขึ้นทั้งในสื่อสังคมออนไลน์ และปากต่อปาก
  5. หน่วยงานรัฐเริ่มให้ความสนใจ และเริ่มวางแผนนโยบายการทำงานด้านทรัพยากรทางทะเล
  6. มีการเก็บข้อมูลปริมาณ และชนิดของสัตว์น้ำก่อนการทำบ้านปลา
  7. มีการทบทวนกฎกติกาเดิม และร่างเพิ่มเติม เรื่องของเครื่องมือประมง ( แหใช้ขนาดตา 3 เซนติเมตร ขึ้นไป, อวน3 เซนติเมตร ขึ้นไป )
  8. มีภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงาน เช่น เทศบาลตำบลปากพะยูน สำนักงานประมง โรงเรียนเกาะหมาก