directions_run

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนเพื่อชุมชนอำเภอปะทิว

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนเพื่อชุมชนอำเภอปะทิว ”

หมู่ที่ 1,หมู่ที่ 2ตำบลชุมโค และหมู่ที่ 1 ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นางชิดสุภางค์ ชำนาญ

ชื่อโครงการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนเพื่อชุมชนอำเภอปะทิว

ที่อยู่ หมู่ที่ 1,หมู่ที่ 2ตำบลชุมโค และหมู่ที่ 1 ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 55-00221 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0417

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2012 ถึง 30 เมษายน 2013


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนเพื่อชุมชนอำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1,หมู่ที่ 2ตำบลชุมโค และหมู่ที่ 1 ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนเพื่อชุมชนอำเภอปะทิว



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนเพื่อชุมชนอำเภอปะทิว " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1,หมู่ที่ 2ตำบลชุมโค และหมู่ที่ 1 ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 55-00221 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2012 - 30 เมษายน 2013 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 248,500.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่มีลักษณะเด่นในเชิงนิเวศและมีความเปราะบาง ให้เป็นเป็นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม
  2. เพื่อพัฒนาแหล่งทรัพยากรที่สำคัญ เช่นป่าชายเลน ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ที่มีชีวิต โดยการจัดการของโรงเรียนและชุมชน
  3. เพื่อสร้างความเข็มแข็งให้กับชุมชน และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และชุมชนให้สามารถอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นภูมิคุ้มกันให้กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีระบบนิเวศเปราะบางรวมทั้งเพื่อให้เป็นตัวอย่างในการดำเนินงานให้กับพื้นที่อื่นๆ
  4. เพื่อสร้างความรู้และจิตสำนึกในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้แก่เยาวชนให้แก่เยาวชนซึ่งจะเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการดำเนินงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุมคณะทำงานโครงการ

    วันที่ 12 เมษายน 2012 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมแลกเปลี่ยนรับฟังความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมคณะทำงานโครงการและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน เพื่อสรุปบทเรี่ยนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต่อไป

     

    0 0

    2. จัดประชุมคณะทำงานโครงการ

    วันที่ 12 เมษายน 2012 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสนอแนะและรับฟังความคิดเห็นร่วมกันระหว่างคณะำทำงานและชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมคณะทำงานโครงการและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน เพื่อสรุปบทเรี่ยนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต่อไป

     

    0 0

    3. ติดต่อประสานงานชุมชน โรงเรียน สถาบันการศึกษา และภาคีเครือข่าย

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2012 เวลา 09:00 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าไปติดต่อประสานงานชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าไปติดต่อประสานงานชุมชน และดูพื้นที่ดำเนินโครงการเพื่อความเหมาะสมและวางแผนต่อไป

     

    0 0

    4. จัดทำป้ายปลอดบุหรี่ และป้าย สสส

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2012 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้าย ปล้อดบุหรี่ และป้าย สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จ้างทางร้านจัดทำป้ายปลอดบุหรี่ และป้าย สสส.

     

    0 0

    5. พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๑

    วันที่ 16 มิถุนายน 2012 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่พูดคุยกับทีมคณะทำงานเบื้องต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการพูดคุยกับทีมคณะทำงานและชี้แนะวิธีการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ตลอดจนการทำบัญชีการเงินต่าง ๆ 

     

    0 0

    6. การฟื้นฟูป่าชายเลนที่เสื่อมโทรม

    วันที่ 20 มิถุนายน 2012 เวลา 09.00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปลูกป่าชายเลน คลองบางสน – บางมูล
    (ชุมโค) จำนวน 700 ไร่ เพื่อซ่อมเสริมในบริเวณที่เสื่อมโทรม และถูกบุกรุกทำลาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชน นักเรียน และเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เอกชน จำนวน 200 คน ร่วมปลูกป่าชายเลน จำนวน 2000 ต้น ในพื้นที่คลองบางสน

     

    0 0

    7. ปลูกป่าชายเลนคลองบางสน หมู่ที่ 1 ต.บางสน

    วันที่ 20 มิถุนายน 2012 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปลูกป่าชายเลน คลองบางสน – บางมูล
    (ชุมโค) จำนวน 700 ไร่ เพื่อซ่อมเสริมในบริเวณที่เสื่อมโทรม และถูกบุกรุกทำลาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชน นักเรียน และเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เอกชน จำนวน 200 คน ร่วมปลูกป่าชายเลน จำนวน 2000 ต้น ในพื้นที่คลองบางสน

     

    0 0

    8. จัดค่ายผู้นำเยาวชนอาสาสมัครอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอำเภอปะทิว

    วันที่ 30 มิถุนายน 2012 เวลา 09.00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเยาวชน นักเรียน จากโครงเรียนเครือข่าย เข้าค่ายผู้นำเยาวชนอาสาสมัครอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ฯ จำนวน 50 คน โดยมี ชุมชน ครู เป็นผู้คอยให้การดูแลและมีส่วนร่วมกับการจัดกิจกรรมในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนบรรยายการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่น
    • ฝึกความเป็นผู้นำด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้กับเยาวชนโดยการฝึกคิด ฝึกนำเสนอ โดยการระดมสมองร่วมกันภายในกลุ่ม
    • กิจกรรมสันทนาการ

     

    0 0

    9. จัดค่ายเยาวชน

    วันที่ 30 มิถุนายน 2012 เวลา 09:00 - 19.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชุมชนบรรยายการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่น
    • ฝึกความเป็นผู้นำด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้กับเยาวชนโดยการฝึกคิด ฝึกนำเสนอ โดยการระดมสมองร่วมกันภายในกลุ่ม
    • กิจกรรมสันทนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนบรรยายการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่น
    • ฝึกความเป็นผู้นำด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้กับเยาวชนโดยการฝึกคิด ฝึกนำเสนอ โดยการระดมสมองร่วมกันภายในกลุ่ม
    • กิจกรรมสันทนาการ

     

    0 0

    10. จัดค่ายเยาวชน

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2012 เวลา 09:00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดค่ายเยาวชนเพื่อสร้างจิตสำนึกและความตระหนักให้กับเยาวชนในโรงเรียนต่าง ๆ ในพื้นที่ดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จัดกิจกรรมอบรมเยาวชนโดยวิทยากรจากชุมชน
    • กระบวนการค่ายเยาวชนเพื่อพัฒนาแกนนำ และสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยวิทยากรพี่เลี้ยง

     

    0 0

    11. จัดประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ และร่วมวางแผนการทำงานร่วมกัน

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2012 เวลา 09.00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมคณะทำงานโดยมีชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 1 ,2 ต. ชุมโค และหมู่ที่ 1 ต. บางสน รวมท้ั้งแกนนำครูในโรงเรียนพื้นที่เป้าหมายเข้าร่วมประชุม จำนวน 50 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีวางแผนงาน เตรียมพื้นที่ดำเนินการ และกำหนดทิศทางการดำเนินโครงการเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จของโครงการและเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด ต่อทรัพยากรในพื้นที่ต่อวิถีชีวิตชุมชน - มีการประสานงานกลุ่มองค์กรเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการให้เกิดการรับรู้และเตรียมการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมตามโครงการ

     

    0 0

    12. จัดประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ และร่วมวางแผนการทำงานร่วมกัน

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2012 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมคณะทำงานโดยมีชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 1 ,2 ต. ชุมโค และหมู่ที่ 1 ต. บางสน รวมท้ั้งแกนนำครูในโรงเรียนพื้นที่เป้าหมายเข้าร่วมประชุม จำนวน 50 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมคณะทำงานโดยมีชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 1 ,2 ต. ชุมโค และหมู่ที่ 1 ต. บางสน รวมท้ั้งแกนนำครูในโรงเรียนพื้นที่เป้าหมายเข้าร่วมประชุม จำนวน 50 คน

     

    0 0

    13. ประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็น ให้ความรู้และกำหนดแนวทางและมาตรการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 5 สิงหาคม 2012 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมตามแผนงานกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการให้ความรู้และระดมความคิดเห็นในเวทีเสวนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

     

    0 0

    14.

    วันที่ 12 สิงหาคม 2012 เวลา 09.00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชุมชนหมู่ที่ 1  ร่วมกับเยาวชนในพื้นที่ ร่วมกันปลูกป่าชายเลนคลองบางมูล  พื้นที่ 100  ไร่  พันธุ์ไม้ป่าชายเลน จำนวน 1,000 ต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนหมู่ที่ 1  ร่วมกับเยาวชน นักเรียนในพื้นที่ ร่วมกันปลูกป่าชายเลนคลองบางมูล  พื้นที่ 400  ไร่  พันธุ์ไม้ป่าชายเลน จำนวน 1,000 ต้น

     

    0 0

    15. จัดทำรายงานกิจกรรม ในงวดที่ 1

    วันที่ 27 กันยายน 2012 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำรายงานกิจกรรมที่ได้ดำเนินงานที่ผ่านมาในทุกกิจกรรมที่จัดขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดรายงานกิจกรรมในงวดที่ 1 จำนวน 1 เล่ม

     

    0 0

    16. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2012 เวลา 09:30 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมประชุมกับพี่เลี้ยงและทีมงานผู้ติดตามระดับภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าร่วมประชุม และบันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมลงเว็บไซด์ "คนใต้สร้างสุข"

     

    0 0

    17. ปลูกป่าชายเลนคลองบางมุุล

    วันที่ 5 ธันวาคม 2012 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมชนและเยาวชน จำนวน 50 คน  ร่วมกันปลูกป่าชายเลนคลองบางมูล พื้นที่ 400 ไร่ จำนวน 1000 ต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนและเยาวชน จำนวน 50 คน  ร่วมกันปลูกป่าชายเลนคลองบางมูล พื้นที่ 400 ไร่ จำนวน 1000 ต้น

     

    0 0

    18. ฝึกอบรมและศึกษาดูงาน

    วันที่ 25 ธันวาคม 2012 เวลา 06:00 - 18.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำแกนนำเยาวชน ชุมชน ศึกษาดูงาน การจัดการป่าชายเลนในพื้นที่ศูนย์สิรินารถราชินี อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์ โดยการคัดเลือกจากกลุ่มเป้าหมายจากพื้นที่ดำเนินการตามความสมัครใจ จำนวน 50 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำเยาวชน และชุมชน เข้าร่วมอบรม และศึกษาดูงานป่าชายเลนที่ ศูนย์สิรินาถราชินี อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 50 คน 

     

    0 0

    19. ฝึกอบรมและศึกษาดูงาน

    วันที่ 25 ธันวาคม 2012 เวลา 06:00-19.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำผู้นำชุมชน ครู นักเรียน และตัวแทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาดูงานการจัดการป่าชายเลน ศูนย์สิรินารถราชินี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน และอบรมการบริหารจัดการป่าชายเลนชุมชน อย่างเป็นระบบและประสบผลสำเร็จ

     

    0 0

    20. จัดทำเอกสารเผยแพร่บทเรียนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติฯ

    วันที่ 7 มกราคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    0 0

    21. ทีมสจรส.ติดตามนิเทศงานโครงการครั้งที่๑

    วันที่ 14 มกราคม 2013 เวลา 09:00 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจเอกสาร และผลการดำเนินงาน โดยตรวจ ส.1 ง.1 และใบเสร็จ ต่าง ๆ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการตรวจเอกสาร และผลการดำเนินงาน โดยตรวจ ส.1 ง.1 และใบเสร็จ ต่าง ๆ 

     

    0 0

    22. ลงสำรวจป่าชายเลนและปรับปรุงเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน

    วันที่ 25 มกราคม 2013 เวลา 09:00-17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมชนมีการซ่อมแซมปรับปรุงเส้นทางศึกษาธรรมชาติทั้งสองพื้นที่ ซึ่งเป็นเส้นทางที่มีอยู่เดิมแต่มีการชำรุด บ้างในบางจุด ซึ่งอาจมีอันตรายต่อผู้เข้าไปเดินในเส้นทางได้
    และมีการนำเยาวชนลงเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน และมีการปลูกป่าเสริมบ้างเล็กน้อย โดยใช้ฝักโกงกาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ ปรับปรุงเส้นทางศึกษาธรรมชาติ และนำเยาวชนลงเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนทั้งสองพื้นที่

     

    0 0

    23. ติดตามประเมินผลโครงการ

    วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2013 เวลา 09:00 - 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงลงพื้นที่พบปะคณะทำงานและให้คำแนะนำสอบถามผลการดำเนินงานในพื้นที่ดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงลงพื้นที่พบปะคณะทำงานและให้คำแนะนำสอบถามผลการดำเนินงานในพื้นที่ดำเนินการ

     

    0 0

    24. พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๒

    วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2013 เวลา 09:00 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงลงพื้นที่ดำิเินินงาน และพบปะคณะทำงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงลงพื้นที่ดำิเินินงาน และพบปะคณะทำงานโครงการ

     

    0 0

    25. ประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็น ให้ความรู้และกำหนดแนวทางและมาตรการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2013 เวลา 09.00 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมให้ความรู้ถึงแนวทางการอนุรักษ์ กำหนดมาตรการทิศทางการดำเนินโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน มีการวางแนวทางมาตรการการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศด้านสิ่งแวดล้อมที่ครอบคลุมทุกมิติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมให้ความรู้ถึงแนวทางการอนุรักษ์ กำหนดมาตรการทิศทางการดำเนินโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน มีการวางแนวทางมาตรการการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศด้านสิ่งแวดล้อมที่ครอบคลุมทุกมิติ

     

    0 0

    26. ทีมสจรส.ติดตามนิเทศงานโครงการครั้งที่๒

    วันที่ 2 มีนาคม 2013 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเอกสารต่าง ๆ มาให้ทีมงาน สจรส.มอ. ตรวจดูและทำการบันทึกลงเว็บไซด์ คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่ตรวจเอกสาร ความถูกต้อง และบันทึกกิจกรรมลงเว็บไซด์

     

    0 0

    27. จัดทำสรุปรายงานโครงการ

    วันที่ 11 มีนาคม 2013 เวลา 09:30 - 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมคณะทำงานจัดทำรายงานสรุปกิจกรรมในงวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมคณะทำงานจัดทำรายงานสรุปกิจกรรมในงวดที่ 1

     

    0 0

    28. พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๓

    วันที่ 26 เมษายน 2013 เวลา 09:00 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินงานในลักษณะของภาคีเครือข่ายระดับท้องถิ่น ชุมชน และโรงเรียน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลบรรลุตามเป้าหมายที่โครงการและคณะทำงานตั้งไว้ทุกกิจกรรม

     

    0 0

    29. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 30 เมษายน 2013 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมคณะทำงานดำเนินการสรุปรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ 1 เล่ม พร้อมด้วยแบบฟอร์มการดำเินินงาน ทั้ง ส.1 ส.2 ส.3 ง.1 ง.2 

     

    0 0

    30. จัดทำภาพถ่ายกิจกรรมทั้งโครงการ

    วันที่ 30 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    1. เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่มีลักษณะเด่นในเชิงนิเวศและมีความเปราะบาง ให้เป็นเป็นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม 2. เพื่อพัฒนาแหล่งทรัพยากรที่สำคัญ เช่นป่าชายเลน ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ที่มีชีวิต โดยการจัดการของโรงเรียนและชุมชน 3. เพื่อสร้างความเข็มแข็งให้กับชุมชน และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และชุมชนให้สามารถอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นภูมิคุ้มกันให้กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีระบบนิเวศเปราะบางรวมทั้งเพื่อให้เป็นตัวอย่างในการดำเนินงานให้กับพื้นที่อื่นๆ 4. เพื่อสร้างความรู้และจิตสำนึกในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้แก่เยาวชนให้แก่เยาวชนซึ่งจะเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการดำเนินงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนเพื่อชุมชนอำเภอปะทิว

    รหัสโครงการ 55-00221 รหัสสัญญา 55-00-0417 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2012 - 30 เมษายน 2013

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    มีการทำประชาคมหมู่บ้านเรื่องการประกาศเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนให้เกิดความยั่งยืน โดยมีเครื่องมือปกป้องทรัพยากร

    เอกสาร(ร่าง) ประกาศเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมซึ่งพิจารณาโดยประชาชนในชุมชน

    การทำแผนพัฒนาชุมชนร่วมกันเพื่อผลักดันให้เกิดการประกาศเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมในอำเภอปะทิวอย่างแท้จริง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ชุมชนมีแนวความคิดที่หลากหลายและหาแนวทางการพัฒนาท้องถิ่นที่สามารถสร้างความยั่งยืนได้

    จากแนวความคิดในเวทีประชุม

    การร่วมกันอนุรักษ์ / ฟื้นฟูทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น การร่วมปลูกป่าชายเลน , การสร้างแกนนำเยาวชนคนรุ่นใหม่ให้มีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    มีการร่วมคิดร่วมทำ และการระดมสมองในการปรึกษาหารือกันเวลาจะทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนท้องถิ่น

    การจัดเวทีประชุมต่าง ๆ ในชุมชน

    การตั้งกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน และมีการเพิ่มของสมาชิกกลุ่ม เช่น กลุ่มโฮมสเตย์บ้านบางสน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    มีกลุ่มส่งเสริมสิทธิชุมชนเพื่อตำบลน่าอยู่ / ไม่ต้องการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่ไม่มีการสอบถามความคิดเห็นจากชุมชนโดยรวม

    การจัดเวทีรณรงค์ต่อต้านโรงไฟฟ้าฯ ในอำเภอปะทิว

    มีแนวคิดในการพัฒนาชุมชนโดยการร่วมฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น แหลมแท่น, ป่าชายเลน , แหล่งปะการัง แหล่งหอยมือเสือและชายหาด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    มีการพัฒนาศักยภาพแหล่งเรียนรู้เดิมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในชุมชน

    การทำข้อมูลแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ เช่น กลุ่มค่างแว่น , กลุ่มอนุรักษ์หอยมือเสือ , กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปลาในกระชัง และโฮมสเตย์

    ร่วมคิด ร่วมทำ โดยชุมชนมีส่วนร่วม และสานสัมพันธ์กับอปท.เพื่อจัดทำแผนการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มีการสนใจเรื่องสุขภาพอนามัยมากขึ้น เช่น การสนใจเรื่องธรรมชาติบำบัด การไม่ใช้สารเคมีหรือยาเบื่อปลา

    จากการสรุปการพูดคุยแลกเปลี่ยนในชุมชน

    มีการณรงค์และให้ความสำคัญเรื่องการบริโภคอาหารที่ทำเองภายในครอบครัว

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการเลือกบริโภค โดยให้ความสำคัญเรื่องอาหารการกิน,บริโภคสัตว์น้ำในชายฝั่งของตนเอง (สัตว์น้ำจากที่อื่นมีการใส่สารเคมีปนเปื้อน)
    มีการสนับสนุนสินค้าจากชุมชน เช่น สนับสนุนการซื้อสัตว์น้ำจากแม่ค้าที่หาได้จากชุมชน

    จากการสรุปการพูดคุยแลกเปลี่ยนในชุมชน

    ชุมชนใส่ใจเรื่องการบริโภคอาหารปลอดสารพิษมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีการออกกำลังกายกันในชุมชนเช่น การวิ่งบริเวณชายหาด , การปั่นจักรยาน และการรณรงค์แข่งขันกีฬาของเทศบาลตำบล

    มีลานกีฬาในชุมชน และในโรงเรียนที่ชุมชนสามารถใช้ได้

    อปท.มีแผนการพัฒนาลานกีฬาในชุมชน และหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    ชุมชนมีการสอดส่องดูแลกลุ่มที่เล่นการพนันภายในหมู่บ้าน และบางครอบครัวมีการลดเหล้าบุหรี่ ของสมาชิกภายในครอบครัว

    จากเวทีประชุมระดับอำเภอและหมู่บ้าน

    รณรงค์เรื่องการพนัน โดยให้สายตรวจและ ตชต.คอยสอดส่องดูแลไม่ให้มีแหล่งพนันในหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

    มีการรณรงค์เรื่องการลดความเร็วของกลุ่มวัยรุ่น , ผู้ปกครองคอยเอาใจใส่บุตรหลานที่อยู่ในช่วงวัยรุ่นและการคบเพื่อนต่างเพศ

    จากการสรุปการพูดคุยแลกเปลี่ยนในชุมชน

    มีสัญญาณเตือนภัยในช่วงทางโค้งและทางแยก ให้ชะลอความเร็ว

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    มีการสานสัมพันธ์อันดีต่อกันภายในหมู่บ้าน , ไม่มีการทะเลาะเบาะแว้งกันและกัน และยังมีวงคิดวงคุยในลักษณะของการปรึกษาหารือร่วมกัน

    มีกลุ่มสภาวัฒนธรรมไทยสานสายใยชุมชนอำเภอปะทิว (และระดับตำบล)

    จัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมในชุมชนให้มากขึ้นเพื่อชุมชนจะได้มีการร่วมคิดร่วมทำและสานสัมพันธ์ร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การสานเสื่อกระจูด และยังมีการปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือนและรักษาโรค เน้นการรับประทานอาหารโดยปรุงเอง ปลูกเอง

    ชุมชน / ครัวเรือน มีการปลุกผักสวนครัวไว้หลังบ้าน และเป็นการสนองนโยบายของกรมการปกครอง

    มีการยกระดับความสำคัญของภูมิปัญญาในชุมชนและถ่ายทอดสู่เยาวชน รุ่นสู่รุ่น โดยการจัดฝึกอบรมให้กับแกนนำเยาวชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    สมาชิกภายในครอบครัวมีการดูแลกันเอง พ่อแม่ดูแลลูก พี่เตือนน้อง เพื่อนเตือนเพื่อน

    จากการสังเกตพฤติกรรมของเพื่อนบ้าน

    อปท.เอาใจใส่และให้ความสำคัญกับการสร้างครอบครัวอบอุ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการเก็บขยะบริเวณชายหาดเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี เช่น ก่อนถึงเทศกาลสงกรานต์

    ภาพกิจกรรมการทำความสะอาดชายหาดอ่าว ปะทิว

    ท้องถิ่นนำเข้าแผนพัฒนาตำบลเพื่อทำกิจกรรมทำความสะอาดชายหาดในทุก ๆ ปี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีการจัดตั้งกลุ่ม อพปร.ภายในตำบล และคอยดูแลรักษาความปลอดภัยในงานประเพณีหมู่บ้าน    ต่าง ๆ

    มีการอบรมบำบัดเยาวชนผู้เสพยาเสพติด

    การสังเกตการณ์งานประเพณีในหมู่บ้าน ,ชุมชน

    อปท.เสริมหนุนกิจกรรม อพปร.ตำบลโดยมีประธานกลุ่มและคณะกรรมการที่เข้มแข็ง และมีสมาชิก อพปร.เป็นคนในชุมชนเอง และจัดสวัสดิการ    ต่าง ๆ ให้กับสมาชิก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีกลุ่มประมงชายฝั่ง และตั้งเป็นสหกรณ์ออมทรัพย์กลุ่มประมงฯ ,การตั้งกลุ่มทำกะปิในชุมชน

    จากเอกสารการจัดตั้งกลุ่มในชุมชนในรูปแบบของคณะกรรมการ

    ยกระดับความสำคัญของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนและเสริมหนุนองค์ความรู้เสริมจัดสรร งบประมาณให้กับกลุ่มเท่าที่จะทำได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    มีกลุ่มกองทุนหลักประกันสุขภาพ และกลุ่ม อสม.ในชุมชนที่เข้มแข็ง

    มีเอกสารของการกลุ่มและมีคณะกรรมการกลุ่มที่ชัดเจน

    อปท.ให้การเสริมหนุน และมีคณะทำงานกลุ่มที่เข้มแข็งและร่วมกันขับเคลื่อนงานต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีกฎ กติกาชุมชนด้านการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการขยะในครัวเรือน โดยส่งเสริมการแยกขยะ และการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี

    จากการสอบถาม / สังเกต และการเสนอความคิดเห็นในเวทีประชุม

    ท้องถิ่น , อปท.นำเสนอเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นในทุก ๆ ปี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    การอยู่อย่างพอเพียงและรักษาทุนทางสังคม และการกำหนดกฏ ระเบียบของการจับสัตว์น้ำ การตัดไม้ในป่าชายเลน ตลอดจนการดูแลรักษาความสะอาดของป่าชายเลน

    การพูดคุยในที่ประชุมหมู่บ้านหรือกลุ่ม

    การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในหมู่บ้านและครัวเรือนรูปแบบของการรับประทานปลาที่ตนเองจับและปลูกผักสวนครัว

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    การสร้างข้อตกลงร่วมกันในชุมชนคือ ไม่เอาอุตสาหกรรมโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    การตั้งกลุ่มปะทิวรักษ์ถิ่นในพื้นที่ตำบลชุมโค , การตั้งโฮมสเตย์ในตำบลบางสน

    รณรงค์ส่งเสริมอาชีพธุรกิจขนาดเล็กภายในครัวเรือน เช่น ประมงชายฝั่ง , เกษตรกรรม (เลี้ยงสัตว์,ปาล์มน้ำมัน ,ยางพาราฯลฯ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

    ข้อบัญญัติท้องถิ่นตำบล    ชุมโค

    เอกสารข้อบัญญัติท้องถิ่น

    ร่วมเสนอแผนพัฒนาตำบลผ่านเวทีประชุมสภาและเวทีประชุมในหมู่บ้าน

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการประสานงาน ประสานความร่วมมือ กันระหว่างกลุ่มเครือข่าย ในชุมชน

    การเข้าร่วมประชุมในเวทีต่าง ๆ ในชุมชนอย่างมีส่วนร่วม

    การจัดทำแผนพัฒนาชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    มีผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีการพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างความร่วมมือร่วมกันอย่างเป็นเครือข่ายและมีการปรึกษาหารือร่วมกัน

    การสังเกตการณ์จากเวทีการเรียนรู้ร่วมกัน

    การเก็บข้อมูลพื้นที่ของแหล่งเรียนรู้และการเสริมสร้างศักยภาพแกนนำแหล่งเรียนรู้และการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการจัดตั้งกลุ่มสวัสดิการผู้ประกอบการประมงชายฝั่งโดยมีเงินฝากออมทรัพย์และให้กู้ปลอดดอกเบี้ย

    เอกสารการจัดตั้งกลุ่ม

    มีการประชุมอย่างต่อเนื่อง และเคารพกฎกติการ่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการประชุมทุกเดือน หรือ สองเดือนครั้ง

    จากการเข้าไปพูดคุยประสานงาน

    มีสมาชิกกลุ่มเพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทุกเดือน

    บันทึกการประชุมของหมู่บ้าน

    มีแผนพัฒนาหมู่บ้านที่หลากหลายขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    ชุมชนสามารถทำแผนพัฒนาชุมชนได้ด้วยตนเองโดยการระดมความคิดเห็นร่วมกัน

    การเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน

    ส่งบุคลากรในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานองค์กรภายนอกเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในทุกกิจกรรมและมีการเสนอความคิดเห็น

    การสังเกต / การเข้าติดต่อประสานงาน

    มีแนวความคิดในการพัฒนาให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    มีการร่วมด้วยช่วยกันในการพัฒนาแหล่งทรัพยากรอันมีค่าในชุมชน เช่น แหลมแท่น , ปลูกป่าชายเลน

    ภาพถ่ายกิจกรรม และการเข้าร่วมกิจกรรม / การเข้าไปติดต่อประสานงาน

    มีแนวความคิดในการพัฒนาให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ และยังคงมีการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การสังเกตวิถีชุมชนและการใช้ชีวิตในครอบครัว / สังคม

    การสังเกต และการเข้าไปติดต่อประสานงาน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างเพื่อนบ้าน

    การสังเกตจากงานประเพณี การสืบสานวัฒนธรรมไทย

    ท้องถิ่นมีการส่งเสริมกิจกรรมชุมชนอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    มีการระดมความคิดเห็นร่วมกันในเวทีประชุมเพื่อหาทางออกกรณีปัญหาต่าง ๆ ในสังคม

    มีการประชุมรับฟังความคิดเห็นในชุมชน ซึ่งจัดโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    ผู้นำชุมชนจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นในชุมชนอย่างต่อเนื่อง และให้การสนับสนุนสินค้าทางภูมิปัญญาในชุมชน  หรือสนับสนุนกลุ่มอาชีพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนเพื่อชุมชนอำเภอปะทิว จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 55-00221

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางชิดสุภางค์ ชำนาญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด