แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ ”

หมู่5บ้านท่าช้าง ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพัชรี ยกตั้ง

ชื่อโครงการ รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ

ที่อยู่ หมู่5บ้านท่าช้าง ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 55-00992 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0715

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กรกฎาคม 2555 ถึง 19 กรกฎาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่5บ้านท่าช้าง ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ



บทคัดย่อ

โครงการ " รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่5บ้านท่าช้าง ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง รหัสโครงการ 55-00992 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กรกฎาคม 2555 - 19 กรกฎาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 198,800.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญของป่าสาคู และระบบนิเวศของคลองและวิถีของ ชุมชน เพื่อสร้างความร่วมมือของคนและกฎกติกาของชุมชน ในการสร้างคลังอาหาร อนุรักษ์ระบบนิเวศริมคลองและมีระบบการจัดการอย่างยั่งยืน เพื่อหนุนเสริมกลไกการขับเคลื่อนชุมชน ให้สามารถบริหารจัดการชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ/ผู้รับผิดชอบการเงิน/คณะทำงาน พืนที่ละ 3 คนร่วมประชุมปฐมนิเทศและแลกเปรี่ยนเรียนรู้การขับเครืีอนกระบวนการสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่การบริหารจัดการโครงการ การบริหารการจัดการงบประมาณรายงานความก้าวหน้าโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานชุมชนที่เข้าร่วมมีความรู้และเข้าใจและสามารถบริหารจัดการโครงการ การจัดการการเงิน การรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการผ่านเว็บไซส์ได้อย่างถูกต้อง ทันเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ

     

    0 0

    2. ประชุมสภาหมู่บ้านครั้งที่ 1 เพื่อสรรหาคณะทำงาน

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00-16.00 น.py น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและตัวแทนกลุ่มในพื้นที่เข้าร่วมประชุมจำนวน 36 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานรู้และเข้าใจในวัตถุประสงค์ แนวทางการดำเนินงานของโครงการ และสมัครใจเป็นคณะทำงาน 20 คน

     

    0 0

    3. เวทีสัญญาประชาคมผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้บริหารเทศบาลตำบลพนางตุง

    วันที่ 18 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. มีผู้เข้าร่วมประมาณ 80 คน
    2. ผู้สมัครเป็นผู้บริหารเทศบาล 2 ทีม มาร่วมเเถลงนโยบายในการบริหารหมู่บ้าน และชาวบ้าน ก็เสนอให้มีการออก เทศบัญญัติเพื่อจัดตั้งเขตคุ้มครองพันพืชและสัตว์น้ำในพื้นที่หมู่บ้าน และจัดทำเป็นเอกสารประกอบไว้เป็นหลักฐาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ทั้ง 2 ทีม ได้รับไว้พิจารณา

     

    0 0

    4. กิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมการลอยกระทง

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00-22.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดวงเสวนา 2.งานลอยกระทงมีผู้เข้าร่วมประมาณ 130 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมการลอยกระทง 2.ได้ปลุกจิตสำนึกของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญของความม่ั่นคงทางอาหารของชุมชน 3.ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการต่อคนในชมชน 4.มีผู้เข้าร่วมประมาณ 130 คน

     

    0 0

    5. การติดตามสนับสนุนของ สจรส. ม.อ.

    วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.การตรวจความเรียบร้อยการลงข้อมูลรายละเอียดต่างๆของโครงการ เช่น แผนภาพ ปฏิทินโครงการ รายงานผู้รับผิดชอบ รายงานพี่เลี้ยง ต่างๆผ่านเว็บไซต์ 2. การตรวจสอบใบเสร็จ หลักฐาน การใช้จ่ายเงินของโครงการ 3. การเเนะนำจากเจ้าหน้าที่เรื่องการทำรายงานงวด ระยะเวลาในการส่งงานให้ตรงกับงวดงานงวดเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ทางโครงการได้รับความรู้ในการใช้เว็บไซต์เพื่อการลงข้อมูลรายงานอย่างถูกต้อง
    2. เอกสารการเงินได้รับการเเก้ไขให้ถูกต้อง
    3. จัดสรรเวลาเเละวางเเผนในการส่งงวดรายงานต่างๆได้ดีขึ้น เพราะมีการกระตุ้นตรวจสอบ

     

    0 0

    6. ประชุมสภาหมู่บ้านครั้งที่ 2

    วันที่ 18 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมสภาหมู่บ้าน โดยมตัวแทนกลุ่มและองค์กรต่างๆในหมู่บ้านเข้าร่วม 54 คนและได้ร่วมกัน 1.ร่วมติดตามผลการดำเนินงาน 2.กำหนดปฏิทินกิจกรรมร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ร่วมกันรับรู้ผลการดำเนินงานของโครงการ 2.ได้ปฏิทินการทำงานที่เป็นปัจจุบันและสามารถทำจริงได้

     

    0 0

    7. เวทีเรียนรู้ข้อมูลสภาพในอดีตและสภาพในปัจจุบันของระบบนิเวศคลองไข่ขิงฯ

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 10.00-15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมหมู่บ้านโดยมีตัวแทนครัวเรือนในชุมชนเข้าร่วมเรียนรู้ข้อมูลสภาพในอดีตและสภาพในปัจจุบันของระบบนิเวศคลองไข่ขิง จำนวน81 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วม 81 คน 1.มีความเข้าใจเห็นความสำคัญในระบบนิเวศคลองบางไข่ขิง 2.สามารถอธิบายขยายผลต่อในชุมชนได้ 3.ได้องค์ความรู้ระบบนิเวศคลองบางไข่ขิง

     

    0 0

    8. กิจกรรมการเตรียมพื้นที่และปรับสภาพริมคลองฯครั้งที่ 1

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานพร้อมด้วยแกนนำชุมชนได้เตรียมพื้นที่โดยร่วมกันถากถางดงผักกะเฉด ที่ขึ้นอยู่ริมน้ำบริเวณที่จะปลูกพันธ์ไม้น้ำและพันธพืชริมน้ำ เนื่องจากผักกะเฉดขึ้นเป็นแปลงใหญ่ ทำให้ต้องใช้เวลาหลายครั้งในการกำจัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนเข้าร่วมในการเตรียมพื้นที 20 คน

     

    0 0

    9. กิจกรรมการจัดทำและจัดตั้งเขตอนุรักษ์

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดตั้งเขตอนุรักษ์พันธุ์พืชน้ำพืชริมคลอง พันธุ์สัตว์ป่าริมคลองและพันธุ์สัตว์น้ำโดย 1.การจัดหาพันธุ์และปลูกพืชริมน้ำและในน้ำ 5 ชนิดได้แก่ต้นคล้าย ต้นสาคู ต้นหว้า ต้นมะเดื่อ และบัวแดง 2.จัดหาและอนุบาลพันธุ์สัตว์น้ำ 3 ชนิด ได้แก่ ปลาจะระเม็ดน้ำจืด ปลาตะเพียนและปลานิล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถจัดตั้งและจัดทำเขตอนุรกษ์พันธุ์พืชพื้นเมืองและพันธุ์สัตว์น้ำได้ตามที่กำหนดไว้จัดตั้งเขตอนุรักษ์พันธุ์พืชน้ำพืชริมคลอง พันธุ์สัตว์ป่าริมคลองและพันธุ์สัตว์น้ำโดย 1.การจัดหาพันธุ์และปลูกพืชริมน้ำและในน้ำ 5 ชนิดได้แก่ต้นคล้าย ต้นสาคู ต้นหว้า ต้นมะเดื่อ และบัวแดง 2.จัดหาและอนุบาลพันธุ์สัตว์น้ำ 3 ชนิด ได้แก่ ปลาจะระเม็ดน้ำจืด ปลาตะเพียนและปลานิล

     

    0 0

    10. กิจกรรมควบคุมวัชพืชในบริเวณปลูกพืชริมน้ำ ครั้งที่ 1

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานพร้อมด้วยแกนนำชุมชนได้เตรียมพื้นที่โดยร่วมกันถากถางดงผักกะเฉด ที่ขึ้นอยู่ริมน้ำบริเวณที่จะปลูกพันธ์ไม้น้ำและพันธพืชริมน้ำ เนื่องจากผักกะเฉดขึ้นเป็นแปลงใหญ่ ทำให้ต้องใช้เวลาหลายครั้งในการกำจัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนเข้าร่วมในการถากถางวัชชพืชที่ขึ้นในบริเวณริมคลอง ได้เนื่้อที่ประมาณ 200 ตร.ม.

     

    0 0

    11. สำรวจป่าสาคูและระบบนิเวศริมน้ำเพื่อเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ครั้งที่ 1

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.สำรวจป่าสาคูและระบบนิเวศริมน้ำเพื่อเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อความมั่นคงทางด้านอาหารครั้งที่ 1 โดยเก็บข้อมูลเบื้องต้นเพื่อประเมินความสมบูรณ์โดยเทียบกับระยะเวลา 20 ปีที่แล้ว โดยมีแกนนำและเยาวชนเข้าร่วม 31 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลของระบบนิเวศริมน้ำ โดยสรุปดังนี้ 1.พืชบกริมน้ำมีความสมบูรณ์ 80 %  พืชน้ำมีน้อย 60 % สัตว์ป่าริมน้ำ 30 % สัตว์น้ำ 40% สำรวจป่าสาคูและระบบนิเวศริมน้ำเพื่อเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อความมั่นคงทางด้านอาหารครั้งที่ 1 โดยเก็บข้อมูลเบื้องต้นเพื่อประเมินความสมบูรณ์โดยเทียบกับระยะเวลา 20 ปีที่แล้ว โดยมีแกนนำและเยาวชนเข้าร่วม 31 คน %

     

    0 0

    12. เวทีสร้างกฎกติกาหมู่บ้าน

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เวทีร่วมสร้างกฎกติกาหมู่บ้านมีผู้เข้าร่วมประชุม 83 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้มาตราการและกฎกติกาพื้นที่เขตอนุรักษ์ พันธุ์พืชพันธุ์สัตว์น้ำที่คนในหมู่บ้านร่วมกันกำหนด

     

    0 0

    13. ประชุมสภาหมู่บ้านครั้งที่ 3

    วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมสภาหมู่บ้านเพื่อวางแผนการดำเนินงาน/ติดตามผลการดำเนินงาน/ร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยมีผู้เข้าร่วม 31 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีกลไกในการจัดการชุมชนและติดตามประเมิลผลการดำเนินการตามโครงการ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรในชุมชน

     

    0 0

    14. กิจกรรมควบคุมวัชพืชบริเวณปลูกพืชริมน้ำ ครั้งที่ 2

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานพร้อมด้วยแกนนำชุมชนได้เตรียมพื้นที่โดยร่วมกันถากถางดงผักกะเฉด ที่ขึ้นอยู่ริมน้ำบริเวณที่จะปลูกพันธ์ไม้น้ำและพันธพืชริมน้ำ เนื่องจากผักกะเฉดขึ้นเป็นแปลงใหญ่ ทำให้ต้องใช้เวลาหลายครั้งในการกำจัด  โดยมีแกนนำและเยาวชนเข้าร่วม 27 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมและปลูกต้นไม้ 27 คนได้เน้ือท่ีประมาณ 300 ตร.ม.

     

    0 0

    15. กิจกรรมควบคุมวัชพืชบริเวณปลูกพืชริมน้ำ ครั้งที่ 3

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานพร้อมด้วยแกนนำชุมชนได้เตรียมพื้นที่โดยร่วมกันถากถางดงผักกะเฉด ที่ขึ้นอยู่ริมน้ำบริเวณที่จะปลูกพันธ์ไม้น้ำและพันธพืชริมน้ำ เนื่องจากผักกะเฉดขึ้นเป็นแปลงใหญ่ ทำให้ต้องใช้เวลาหลายครั้งในการกำจัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมและปลูกต้นไม้ 24 คนได้เน้ือท่ีประมาณ 300 ตร.ม.

     

    0 0

    16. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 4

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมสภาหมู่บ้าน  ครั้งนี้มีผู้เข้าร่วม 38 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วม 38 คน 1.มีกลไกในการจัดการชุมชนและติดตามประเมิลผลการดำเนินการตามโครงการ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรในชุมชน

     

    0 0

    17. กิจกรรมควบคุมวัชพืชบริเวณปลูกพืชริมน้ำ ครั้งที่ 4

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานพร้อมด้วยแกนนำชุมชนได้เตรียมพื้นที่โดยร่วมกันถากถางดงผักกะเฉด ที่ขึ้นอยู่ริมน้ำบริเวณที่จะปลูกพันธ์ไม้น้ำและพันธพืชริมน้ำ เนื่องจากผักกะเฉดขึ้นเป็นแปลงใหญ่ ทำให้ต้องใช้เวลาหลายครั้งในการกำจัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมและปลูกต้นไม้

     

    0 0

    18. ประชุมสภาหมู่บ้านครั้งที่ 5

    วันที่ 26 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน แกนนำหมู่บ้าน ตัวแทนเยาวชน จำนวน ๔๐ คน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะกรรมการหมู่่บ้านและแกนนำในหมู่บ้าน มีผู้เข้าร่วม ๒๖ คน

     

    40 26

    19. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 6

    วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านและแกนนำ เยาวชน เพื่อเตรียมงานจัดทำป้ายเขตอนุรักษ์ฯ จำนวน ๔๐ คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะกรรมการและแกนนำ เยาวชนจาก ม.ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง เข้าร่วมด้วย จำนวน ๕๔ คน

     

    0 0

    20. กิจกรรมจัดทำและจัดตั้งเขตอนุรักษ์(ครั้งที่ 5) ปลูกบัว

    วันที่ 7 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาสาสมัคร20คนเยาวชน5คนได้ปักป้ายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำและร่วมกันปลูกบัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนให้ความรวมมือและเพื่อนบ้านม.4ต.พนางตุงม.7ต.ชัยบุรีได้เคารพกฏกติกาไม่หาปลาในบริเวณเขตอนุรักษ์สงวนพันธุ์สัตว์น้ำ

     

    0 0

    21. ประชุมรายงานความก้าวหน้าโครงการ

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่ต่าง ๆ ของภาคใต้ ภายใต้โครงการชุมชนท้องถิ่นหน้าอยู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แนวคิดจากพื้นที่ต่าง ๆ มา่พัฒนาพื้นที่ของตนเอง

     

    0 0

    22. สำรวจป่าสาคูครั้งที่2

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เยาวชนสำรวจป่าสาคูจำนวน 9 คน คณะทำงาน 5 คน 2.เก็บข้อมูลจำนวนเนื้อที่ป่าสาคู 200 เมตร ตามลำคลอง รวมประมาณ 7 ไร่ 3.การใช้ประโยชน์จากสาคู   - ใบใช้เย็บจากตัดเย็บจากได้ปีละครั้งต่อต้น   - ลำต้น อายุประมาณ 10 ปี นำมาใช้ทำแป้งสาคู เพื่อใช้ในการทำขนม และเลี้ยงสัตว์ เช่น เป็ด ไก่ วัว   - ลำต้นใช้เพาะพันธุ์ด้วง ใน 1 ต้นจะไ้ด้ 4,000 บาท ราคาด้วงกิโลละ 250 - 300 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เยาวชน แกนนำ ได้ความรู้เกี่ยวกับป่าสาคู 14 คน
    2.ได้ข้อมูลเนื้อที่ป่าสาคู 200 เมตร ตามลำคลอง รวมประมาณ 7 ไร่ 3.ได้ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากสาคู   - ใบใช้เย็บจากตัดเย็บจากได้ปีละครั้งต่อต้น   - ลำต้น อายุประมาณ 10 ปี นำมาใช้ทำแป้งสาคู เพื่อใช้ในการทำขนม และเลี้ยงสัตว์ เช่น เป็ด ไก่ วัว   - ลำต้นใช้เพาะพันธุ์ด้วง ใน 1 ต้นจะไ้ด้ 4,000 บาท ราคาด้วงกิโลละ 250 - 300 บาท

     

    0 0

    23. ประชุมสะภาหมู่บ้านครั้งที่ 7

    วันที่ 26 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานชี้แจงแผนประปฏิบัติงานกิจกรรมที่ทำมาแล้ว งวดที่ 1 และปรับปฏิทินโครงการ คณะทำงาน 33 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คณะทำงานเข้าร่วมประชุม 33 คน 2.ชี้แจงแผนปฏิบัติงานกิจกรรมที่ผ่านมาในงวดที่ 1 3.ปรับปฏิทินโครงการ   - กิจกรรมประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 8 วันที่ 1 มิถุนายน 2556 เวลา 13.00 น. ณ สำนักสงฆ์ท่าประดู่   - กิจกรรมควบคุมวัชพืช ครั้งที่ 5 ในวันที่ 2 มิถุนายน 2556 เวลา 8.00 น. - 12.00 น.

     

    0 0

    24. ประชุมครั้งที่ 8

    วันที่ 1 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงกิจกรรมงวดที่ 1 ความก้าวหน้าของโครงการ   - ประชุมทำความเข้าใจโครงการและคัดเลือกอาสาสมัคร 20 คน   - จัดเวทีสัญญาประชาคมผู้สมัครเลือกตั้งเทศบาลตำบลพนางตุง   - กิจกรรมลอยกระทง   - กิจกรรมเตรียมพื้นที่และปรับสภาพริมคลองและปลูกพันธุ์ไม้   -กิจกรรมจัดทำและจัดตั้งเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ฺน้ำ จัดหาพันธุ์ไม้   - จัดเวทีสร้างกฎกติกาหมู่บ้าน   - ปักป้ายเขตอนุรักษ์พันธุ์อนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ   - งบประมาณค่าใช้จ่าย 99,400 บาท   - แจ้งกิจกรรมงวดที่ 2 และแจ้งงบประมาณโครงการงวดที่ 2 ของ สสส. สนับสนุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้เข้าร่วมประชุมสภาหมู่บ้านและชุมชนครั้งที่ 8 จำนวน 75 คน 2.ชุมชนคณะทำงานได้รับรู้ความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 3.ได้รับทราบกิจกรรมงวดที่ 2 และงบประมาณโครงการ

     

    0 0

    25. กิจกรรมควบคุมวัชพืช ครั้งที่ 5

    วันที่ 2 มิถุนายน 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะทำงานนำผักกระเฉดที่ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วขึ้นไว้บนฝั่งจำนวน20คน                                  2.เยาวชนมีส่วนร่วมจำนวน4คน         

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คณะทำงาน20คนเยาวชน4คนกำจัดผักกระเฉดต้องใช้รถจักรเทศบาลช่วยลากด้วย

     

    0 0

    26. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 9

    วันที่ 5 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.กำหนดแผนปฏิบัติงานเพื่อจะสำรวจป่าสาคูครั้งต่อไปฃึ่งเป็นวันที่8-9มิ.ย56เวลา08.00น.
                                      2.ชี้แจงกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมมีจำนวน35คน

     

    0 0

    27. กิจกรรมสำรวจป่าสาคูครั้งที่3

    วันที่ 8 มิถุนายน 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและเยาวชนจำนวน28คนร่วมกันสำรวจต้นสาคูว่ามีจำนวนเท่าไหร่ระยะทางที่สำรวจประมาณ500เมตรริมคลองชายคลองตกติดกับเขตตำบลมะกอกเหนือทางด้านทิศเหนือมีป่าสาคูเหลือไม่มากเป็นหย่อมๆเพราะโครงการต้นน้ำกลางน้ำและปลายน้ำของชลประทานคลองท่าแนะขุดลอกริมคลองทำให้ป่าสาคูเหลือไม่มาก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เยาวชนจำนวน10คนได้รู้ถึงสภาพสิ่งแวดล้อมต้นสาคูกำลังจะสูญพันธุ์ -คณะทำงานซึ่งเป็นผู้ปลูกจิตสำนึกเยาวชนคนรุ่นหลังให้อนุรักษ์ป่าสาคู

     

    0 0

    28. กิจกรรมสำรวจป่าสาคูครั้งที่4

    วันที่ 9 มิถุนายน 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เยาวชนจำนวน9คนได้รู้การใช้ประโยชน์จากตันสาคู     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจำนวน9คนได้รู้ระยะทาง300เมตรมีป่าสาคูจำนวนประมาณ2ไร่บางพื้นที่เป็นหย่อม

     

    0 0

    29. สำรวจป่าสาคูและระบบนิเวศริมคลองครั้งที่5

    วันที่ 12 มิถุนายน 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานจำนวน28คนเยาวชน4คนสำรวจพื้นที่ป่าสาคู

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนได้รู้พื้นที่ป่าสาคูและมีจิตสำนึกที่จะอนุรักษ์ไว้สืบทอดต่อคนรุ่นหลัง

     

    20 32

    30. สำรวจป่าสาคูและระบบนิเวศริมคลองครั้งที่6

    วันที่ 15 มิถุนายน 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาสาสมัครจำนวน20คนนำเยาวชนจำนวน9คนสำรวจพื้นที่ป่าสาคูและระบบนิเวศริมคลองซึ่งเมื่อก่อนน้ำใสคนที่อยู่ริมคลองได้อาบน้ำในคลองแต่เดี๋ยวนี้อาบไม่ได้เพราะการทำนาได้ถ่ายน้ำลงในคลองทำให้ระบบนิเวศเสื่อมโทรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เยาวชนได้รู้การประโยชน์ของต้นสาคูและกำลังจะสูญพันธ์ 2.เยาวชนได้รู้การเสื๋อมโทรมของแม่น้ำลำคลอง

     

    0 0

    31. สำรวจพื้นที่ป่าสาคูและระบบนิเวศริมคลองครั้งที่7

    วันที่ 16 มิถุนายน 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานจำนวน21คนเยาวชน9คนสำรวจพื้นที่ป่าสาคุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.หมู่ที่5.บ้านท่าช้างยังมีพื้นที่ริมคลองที่มีต้นสาคูขึ้นอยู่บางส่วน70เปอร์เซ็นต์    2.ชาวบ้านม.5บ้านท่าช้างยังมีการเย็บจากขายเป็นอาชีพเสริมอยู่บ้างแต่ไม่มีมาก

     

    0 0

    32. ประชุมสภาหมู่บ้าน

    วันที่ 23 มิถุนายน 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมกิจกรรมกำจัดวัชพืชกำหนดวันเวลา29/06/2013 เวลา08.30-12.00น.                        2.ประชุมกิจกรรมวันปล่อยปลาประชาชนกหนดวันเวลา30/06/2013 เวลา08.30-12.00น.ผุ้รับผิดชอบการนิมนต์พระและรับ-ส่งคือนายบุญเศียร                      3.ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน42คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัคร/กรรมการหมู่บ้านจำนวน42คน

     

    0 0

    33. กำจัดวัชพืชครั้งที่6

    วันที่ 29 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัคร20คนร่วมกับเยาวชน4คนนำวัชชพืชขึ้นและถากถางหญ้าบริเวณเขตอนุรักษ์พืชและพันธ์สัตว์น้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัคร20คนเยาวชน4คนร่วมกันกำจัดวัชชพืช

     

    0 0

    34. วันปล่อยปลาประชาชน

    วันที่ 30 มิถุนายน 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาสาสมัคร/ชุมชน/เยาวชนร่วม73คนรวมกันทำพิธีปล่อยปลาร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนและเยาวชนประมาณ73คนทำพิธีปล่อยปลาและปลูกบัวเพิ่ม

     

    0 0

    35. ประชุมสภาหมู่บ้าน

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1ชี้แจงกิจกรรมที่ทำมาแจ้งรายรับ-รายจ่ายของแต่ละกิจกรรม                        2.กำหนดแผนปฏิบัติงานวันที่20ก.ค.56เวลา13.00น.ทำกิรรมสำรวจป่าสาคูชี้แจงรายละเอียดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัคร/กรรมการหมู่บ้าน38คน

     

    40 38

    36. ประชุมตรวจเอกสารโครงการ

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการนำเอกสาร/การเงินตรวจสอบกับสจรส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการที่เอกสารไม่เรียบร้อยก็รีบเร่งทำเอกสารให้เรียบร้อย

     

    3 2

    37. สำรวจป่าสาคุครั้งที่8

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัครจำนวน21คนและเยาวชนจำนวน9คนสำรวจพื้นที่ป่าสาคู

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครจำนวน21คนเยาวชน9คนร่วมกันสำรวจป่าสาคู

     

    20 21

    38. สำรวจป่าสาคูครั้งที่9

    วันที่ 23 กรกฎาคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัคร20คนเยาวชน9คนสำรวจป่าสาคูเพื่อแหล่งข้อมูลจากป่าสาคูมีเนื้อที่จำนวน2ไร่ขึ้นเป็นแนวยาวริมคลอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัคร20คนเยาวชน9คนสำรวจป่าสาคูมีเนื้อจำนวน2ไร่ริมคลองบ้านนายไข่  ชูมีเมื่อก่อนชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์กับต้นสาคูนำมาทำด้วงสาคูและเย็บจากมุงหลังคาลดภาวะโลกร้อน

     

    20 21

    39. กำจัดวัชชพืชครั้งที่7

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัครจำนวน22คนเยาวชน5คนควบคุมวัชชพืชเตรียมพื้นที่ปลูกต้นไม้เพิ่มเติม 2.อาสาสมัครสมัครแบ่ง2ส่วนควบคุมวัชพืชที่เขตสงวนพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์น้ำอีกส่วนพัฒนาที่สำนักสงฆ์ท่าประดู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครจำนวน22คนและเยาวชน5คนเยาวชนเข้าร่วมน้อยเพราะสาเหตุบางครั้งร.รเปิดเยาวชนวัยรุ่นยังเข้าไม่ถึงมีกลุ่มวัยรุ่นที่ใช้สนามกีฬาหมู่บ้านเล่นตะกร้อและฟุตบอล

     

    30 30

    40. สำรวจป่าสาคูและระบบนิเวศริมคลองครั้งที่10

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัครจำนวน19คนร่วมกันสำรวจป่าสาคูกับเยาวชนจำนวน9คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.อาสาสมัครจำนวน19คนร่วมกันสำรวจป่าสาคูกับเยาวชนจำนวน9คน 2.สิ่งที่ได้เห็นคือป่าสาคูในหมู่ที่5.บ้านท่าช้างยังมีมากแต่ยังไม่ได้ฟื้นฟูหรือใช้ประโยชน์สักเท่าใด

     

    20 38

    41. สรุปถอดบทเรียนครั้งที่1.

    วันที่ 29 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงกิจกรรมที่จะดำเนินการคือกิจกรรมเชื่อมร้อยเครือข่ายและเลี้ยงน้ำชาเพื่อสมทบทุนเขตสงวนพันธุ์พืชและสัตว์น้ำเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในวันที่8ส.ค.56และจัดหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบงานแต่ละด้าน 2.สรุปผลงานที่ผ่านมาสิ่งที่เกิดขึ้นพื้นที่เคยรกร้างว่างเปล่าตอนนี้ริมคลองมีพันธุ์บัวและมีพันธุ์ปลากำลังเติบโตตามธรรมชาติและมีกฏกติกาเป็นเขตห้ามใช้อุปกรณ์จับสัตว์น้ำและมีแหล่งอาหารคือหอยขึ้นใต้ใบบัว 3.ผ้เข้าร่วมอาสาสมัคร30คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ชี้แจงกิจกรรมที่จะดำเนินการคือกิจกรรมเชื่อมร้อยเครือข่ายและเลี้ยงน้ำชาเพื่อสมทบทุนเขตสงวนพันธุ์พืชและสัตว์น้ำเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในวันที่8ส.ค.56และจัดหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบงานแต่ละด้าน 2.สรุปผลงานที่ผ่านมาสิ่งที่เกิดขึ้นพื้นที่เคยรกร้างว่างเปล่าตอนนี้ริมคลองมีพันธุ์บัวและมีพันธุ์ปลากำลังเติบโตตามธรรมชาติและมีกฏกติกาเป็นเขตห้ามใช้อุปกรณ์จับสัตว์น้ำและมีแหล่งอาหารคือหอยขึ้นใต้ใบบัว 3.ผ้เข้าร่วมอาสาสมัคร30คน

     

    30 30

    42. จัดเวทีเชื่อมร้อยเครือข่ายคนอนุรักษ์ลุ่มน้ำคลองท่าแนะและเลี้ยงน้ำชาเพื่อหาทุนสมทบโครงการ

    วันที่ 8 สิงหาคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.แกนนำสายน้ำต้นน้ำกลางน้ำและปลายน้ำแนะนำตัวมาจากพื้นที่ไหนบ้างและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2.เล่าประสบการณ์ที่ผ่านมาทำอะไรมาบ้างแต่ละพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.แกนนำอาสาสมัครเข้าร่วม40คน 2.ได้ร่วมกันเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างเช่นแกนนำกลางน้ำมีโครงการธนาคารขยะและสร้างคนรุ่นใหม่กิจกรรมจัดในวันที่30ก.ย.56 ณ.วัดดอนนูด 3.มีความคาดหวังจะดำเนินกิจกรรมต่อไปและจะมีการจัดระบบบริหารจัดการของคณะทำงานให้ชัดเจนมากกว่านี้ 4.มีความภาคภมิใจเกิดขึ้นการรายงานโครงการทางอินเตอร์แน็ตโดยคณะทำงานเป็นผู้รายงานเอง

     

    30 40

    43. เลี้ยงน้ำชาเพื่อหาเงินสมทบทุนในการดำเนินโครงการ

    วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เลี้ยงน้ำชาเพื่อจัดหาทุนสมทบการดำเนินงานตามโครงการคนในหมู่บ้าน80คน 2.คนนอกหมู่บ้าน7คน 3.ได้รับเงินจากการสมทบทุนทั้งหมด 8660บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เลี้ยงน้ำชาเพื่อจัดหาทุนสมทบการดำเนินงานตามโครงการคนในหมู่บ้าน80คน 2.คนนอกหมู่บ้าน7คน

     

    100 87

    44. กำจัดวัชชพืชครั้งที่8.

    วันที่ 12 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัครจำนวน25คนร่วมกันกำจัดวัชชพืช 2.ร่วมกันพัฒนาข้างถนนในวันแม่แห่งชาติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.อาสาสมัครจำนวน25คนร่วมกันกำจัดวัชชพืช 2.ร่วมกันพัฒนาข้างถนนในวันแม่แห่งชาติ

     

    30 30

    45. ควบคุมวัชชพืชครั้งที่9.

    วันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัครจำนวน22คนร่วมนำผักกระเฉดที่ขึ้นในพื้นที่ปลูกบัวเอาออกเพื่อบัวจะได้ขยายพันธุ์ไปอีก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.อาสาสมัครจำนวน22คนร่วมนำผักกระเฉดที่ขึ้นในพื้นที่ปลูกบัวเอาออกเพื่อบัวจะได้ขยายพันธุ์ไปอีก

     

    30 22

    46. ควมคุมวัชชพืชครั้งที่10.

    วันที่ 16 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัครจำนวน19คนนำผักกระเฉดขึ้นต่อจากครั้งที่ผ่านมาอาสาสมัครบางคนไม่ได้มาเพราะติดภาระกิจงานแต่งงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.อาสาสมัครจำนวน19คนนำผักกระเฉดขึ้นต่อจากครั้งที่ผ่านมาอาสาสมัครบางคนไม่ได้มาเพราะติดภาระกิจงานแต่งงาน

     

    0 0

    47. สรุปถอดบทเรียนครั้งที่2.

    วันที่ 18 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อาสาสมัคร28คนมาสรุปผลและถอดบทเรียนที่ผ่านมาการทำโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลอง  ชวนน้องมาช่วยทำเกิดผลอะไรบ้าง 2.เขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำที่มีอาณาเขตชัดเจนและมีป้ายกฎกติกาที่สามารถมองเห็นและรับรู้ทั้งคนในชุมชนและนอกชุมชน 3.ได้เกิดกลุ่มคณะทำงานของกรรมการหมู่บ้านเข้าร่วมกิจกรรม 4.เกิดกลุ่มเยาวชนต่างหมุ้บ้านตำบลใกล้เคียงเข้าร่วมรับรู้การทำกิจกรรมและเครือข่ายคนอนุรักษ์ลุ่มน้ำคลองท่าแนะเพิ่มขึ้น 5ได้รู้จุดบกพร่องของ.การบริหารจัดการโครงการคณะทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.อาสาสมัคร28คนมาสรุปผลและถอดบทเรียนที่ผ่านมาการทำโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลอง  ชวนน้องมาช่วยทำเกิดผลอะไรบ้าง 2.เขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำที่มีอาณาเขตชัดเจนและมีป้ายกฎกติกาที่สามารถมองเห็นและรับรู้ทั้งคนในชุมชนและนอกชุมชน 3.ได้เกิดกลุ่มคณะทำงานของกรรมการหมู่บ้านเข้าร่วมกิจกรรม 4.เกิดกลุ่มเยาวชนต่างหมุ้บ้านตำบลใกล้เคียงเข้าร่วมรับรู้การทำกิจกรรมและเครือข่ายคนอนุรักษ์ลุ่มน้ำคลองท่าแนะเพิ่มขึ้น 5ได้รู้จุดบกพร่องของ.การบริหารจัดการโครงการคณะทำงาน

     

    30 28

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญของป่าสาคู และระบบนิเวศของคลองและวิถีของ ชุมชน เพื่อสร้างความร่วมมือของคนและกฎกติกาของชุมชน ในการสร้างคลังอาหาร อนุรักษ์ระบบนิเวศริมคลองและมีระบบการจัดการอย่างยั่งยืน เพื่อหนุนเสริมกลไกการขับเคลื่อนชุมชน ให้สามารถบริหารจัดการชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญของป่าสาคู  และระบบนิเวศของคลองและวิถีของ  ชุมชน เพื่อสร้างความร่วมมือของคนและกฎกติกาของชุมชน ในการสร้างคลังอาหาร  อนุรักษ์ระบบนิเวศริมคลองและมีระบบการจัดการอย่างยั่งยืน เพื่อหนุนเสริมกลไกการขับเคลื่อนชุมชน  ให้สามารถบริหารจัดการชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ

    รหัสโครงการ 55-00992 รหัสสัญญา 55-00-0715 ระยะเวลาโครงการ 20 กรกฎาคม 2555 - 19 กรกฎาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การเปิดเวทีให้ผู้ที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีตำบลพนางตุง ได้แถลงนโยบายในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธ์พืชและพันธ์สัตว์น้ำทั้งในระดับหมู่บ้านและตำบล  เพื่อให้คนในชุมชนได้ทราบถึงแนวคิดและแนวทางปฏิบัติของเทศบาลในอนาคตสร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนได้เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับหน่วยงานระดับตำบล ที่ชุมชนมีส่วนกำหนดแนวทางการพัฒนาตำบลและชุมชน ผ่านนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น  โดยอาศํยช่วงระยะเวลาของการหมดวาระของทีมบริหารเทศบาลตำบลพนางตุง และอยู่ในช่วงการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกฯ เชิญผู้บริหารของทุกทีมมาแถลงนโยบายในการจัดการทรัพยากรธรมชาติของชุมชนและตำบล เพื่อให้คนได้เรียนรู้และประกอบการตัดสินใจในการเลือกผู้นำ เป็นการเปิดโอกาสให้คนในชุมชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะรดับชุมชนหรือท้องถิ่น เป็นการบอกความต้องการของชุมชให้แก่ผู้ที่อาสาเข้ามาทำหน้าที่ผู้บริหารระดับตำบล ในโอกาสเดี่ยวกันก็เปิดโอกาสให้แก่ผู้สมัครฯที่จะได้มีช่องทางในการสื่อสารกับชุมชนถึงแนวคิดที่จะจัดการทรัพยากรธรมชาติหากได้รับการเลือกตั้งเข้ามาเป็นผู้บริหารฯ  เป็นการสร้างให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องการเมืองภาคพลเมือง หรือการเมืองที่ชาวบ้านมีส่วนกำหนดนโยบายท้องถิ่นเอง

    บันทึกการประชุมสภาหมู่บ้าน เรื่องแนวทางการจัดการเขตอนุรักษ์พันธ์พืช สัตว์น้ำทาประดู่ทอง เมื่อ 18 พย.2555 และภาพถ่ายกิจกรรมเวทีสัญญาประชาคมผู้สมครรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลพนางตุง

    ประกาศเป็นเทศบัญญัติเรื่องกำหนดเขตอนรักษ์ฯ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    เขตอนุรักษ์พันธ์พืชน้ำพืชริมคลอง และเขตสงวนพันธ์สัตว์น้ำท่าประดู่ทสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับคนในชุมชนโดยการศึกษาข้อมูลระบบนิเวศของคลองเปรียบเีทียบระหว่างในอดีตและปัจจุบันเพื่อให้เกิดจิตสำนึกในการเห็นคุณค่าของระบบนิเวศของคลอง และร่วมกันกำหนดกฏกติกาในการร่วมกันดูแลและรักษาเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน การประกาศเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำเป็นป้ายทำด้วยเหล็ก ขนาด 120  X 120 เมตร มีตัวหนังสือ  ประกาศเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำท่าประดู่  ห้ามทำการประมง และจับสัตว์น้ำ อาณาเขตมีดังนี้  ทิศเหนือ  จด  แนวตลิ่ง  ทิศตะวันออก  เลยสะพาน  20 เมตร  ทิศใต้  จด  หมู่ 7 ต. ชัยบุรี  ทิศตะวันตก  จดแนวตลิ่ง  ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษ ยึดอุปกรณ์ทำการประมง  ปรับ 5,000 บาท  โดยอาสาสมัครได้นำมาปักไว้บริเวณเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำริมถนนใกล้กับหัวสะพาน  มองเห็นได้ชัดเจนสามารถจัดตั้งและจัดทำเขตอนุรกษ์พันธุ์พืชพื้นเมืองและพันธุ์สัตว์น้ำได้ตามที่กำหนดไว้จัดตั้งเขตอนุรักษ์พันธุ์พืชน้ำพืชริมคลอง พันธุ์สัตว์ป่าริมคลองและพันธุ์สัตว์น้ำโดย 1.การจัดหาพันธุ์และปลูกพืชริมน้ำและในน้ำ 5 ชนิดได้แก่ต้นคล้าย ต้นสาคู ต้นหว้า ต้นมะเดื่อ และบัวแดง 2.จัดหาและอนุบาลพันธุ์สัตว์น้ำ 3 ชนิด ได้แก่ ปลาจะระเม็ดน้ำจืด ปลาตะเพียนและปลานิลคณะทำงานได้นำทุ่นมาลอยไว้เป็นระยะเป็นที่มองเห็นอย่างชัดเจน                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                              ในการกำหนดเขตเป็นการร่วมมือกันทั้งสองฝั่งคลอง ทั้ง 2 หมู่บ้าน

    ป้ายประกาศบริเวณริมคลอง ตรงสำนักสงฆ์ท่าประดู่ทอง ป้ายทำด้วยเหล็ก ขนาด 120  X 120 เมตร มีตัวหนังสือ  ประกาศเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำท่าประดู่  ห้ามทำการประมง และจับสัตว์น้ำ อาณาเขตมีดังนี้  ทิศเหนือ  จด  แนวตลิ่ง  ทิศตะวันออก  เลยสะพาน  20 เมตร  ทิศใต้  จด  หมู่ 7 ต. ชัยบุรี  ทิศตะวันตก  จดแนวตลิ่ง  ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษ ยึดอุปกรณ์ทำการประมง  ปรับ 5,000 บาท  โดยอาสาสมัครได้นำมาปักไว้บริเวณเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำริมถนนใกล้กับหัวสะพาน

    การขยายผลทั้งขยายพื้นที่และขยายผลเรื่องการดูแลรักษา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กลุ่มประมงอาสา ทำหน้าที่สลับปรับเปลี่ยนกันเข้าเวร ดูแลให้เป็นไปตามกฏหมู่บ้านในเขตห้ามจับสตว์น้ำบริเวณเขตสงวน

    บันทึกการประชุมหมู่บ้านว่าด้วยการสมัครเป็นประมงอาสา เมื่อ 17 กพ.2556

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    วิถีเดิมของคนบ้านท่าช้างส่วนใหญ่ทำนา หาปลา เช่นชุมชนเกษตรชนบททั่วไป การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นการทำนาอินทรีย์ การจัดการคลองล้วนเกี่ยวพันกับอาหารการกิน ที่หล่อเลี้ยงชีวิตของคนที่นี่

    รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการลดมลพิษผลิตข้าวปลอดภัย รหัสโครงการ 53-01710

    การขยายผลทั้งในการเพิ่มพื้นที่การผลิตทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การทำนาอิืนทรีย์ครบวงจร การใช้ข้าวพันธ์พื้นเมืองที่ผลิตพันธ์ข้าว ปรับปรุงพัธ์เอง การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ การรวมกลุ่มกันเก็บเกี่ยว การผลิตข้าวกล้อง การบริหารจัดการโรงสีข้าวชุมชน การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวพื้นเมือง

    กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าช้าง กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ กลุ่มนาอินทรีย์บ้านท่าช้าง

    การขยายผลทั้งในการเพิ่มพื้นที่การผลิตทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ชุมชนมีแหล่งอาหารเพิ่มขึ้นจากพันธ์และสัตว์ทั้งที่ปล่อยและเข้ามาอยู่อาศัยเองตามธรรมชาติที่ดีขึ้น

    คณะทำงานบ้านท่าช้าง

    ร่วมกันดูแลเขตสงวนพันธ์พืชและสัตว์น้ำเพื่อเป็นแหล่งอาหารของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    กฎกติกาหมู่บ้านในการอนุรักษ์  และฟื้นฟูสภาพนิเวศคลองบางไข่ขิง  เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จัดขึ้นโดยมีเทศบาลตำบลพนางตุงมาเป็นเกียรติ และร่วมกำหนดกฎกติการ่วมกันกับชุมชน  ณ สำนักสงฆ์ท่าประดู่ทอง  โดยมีมติว่า  ห้ามจับสัตว์น้ำและใช้เครื่องมือหาปลาทุกชนิด  หากมีการฝ่าฝืนหรือจับปลาในเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ  มีโทษปรับ 5,000 บาท และยึดอุปกรณ์เครื่องมือทุกชนิด  ซึ่งเป็นกฎกติการ่วมกันชุมชนกับเทศบาลตำบลพนางตุง  และได้ติดป้ายกฎกติกาประกาศไว้ที่หัวสะพานที่เห็นได้ชัดเจน
    ประกาศเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำท่าประดู่                                                                                      ห้ามทำการประมง และจับสัตว์น้ำ                                                                                                                        อาณาเขตมีดังนี้                                                                                                                                ทิศเหนือ  จด  แนวตลิ่ง                                                                                                                  ทิศตะวันออก  เลยสะพาน  20 เมตร                                                                                                ทิศใต้  จด  หมู่ 7 ต. ชัยบุรี                                                                                                              ทิศตะวันตก  จดแนวตลิ่ง
    14 ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษ ยึดอุปกรณ์ทำการประมง                                                                                                  ปรับ 5,000 บาท
    โดยอาสาสมัครได้นำป้ายมาปักไว้บริเวณเขตสงวนพันธุ์สัตว์น้ำริมถนนใกล้กับหัวสะพาน

    บันทึกการประชุมหมู่บ้านเมื่อวันที่ 17 กพ.2556

    การร่วมกันดูแลเขตอนุรักษ์ให้เป็นไปตามกฏกติกาหมู่บ้าน การผลักดันให้ออกเป็นเทศบัญญัติ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    1.เวทีสัญญาประชาคม ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้บริหารเทศบาลตำบลพนางตุง  ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ทันต่อสถานการณ์การเลือกตั้งผู้บริหารเทศบาลตำบลพนางตุง  ซึ่งได้ประสานงานผู้สมัคร ทั้งหมด 3 ทีม มาร่วมแถลงนโยบายในการบริหาร  ซึ่งมาเข้าร่วมแถลงนโยบายด้วยกัน 2 ทีม ในเวทีแถลงนโยบายทั้งสองทีมทำให้ชุมชนได้รับรู้นโยบายและการบริหารจัดการของแต่ละทีมเป็นการเพิ่มความรู้ให้กับชุมชนอีกทางหนึ่ง  การแถลงนโยบายทั้ง สอง ทีม ก็มีความสอดคล้องกับโครงการเป็นอย่างดี และยินดีที่จะร่วมทำกิจกรรมกับชุมชน  ผู้เข้าร่วม ชุมชนบ้านท่าช้าง  100  คน. 2. บทเรียนร่วมกันในการดูแลพืชพันธ์ไม้ที่ต้องมีการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยกำหนดบุคลลที่ต้้องผลัดเปลี่ยนกันดูแล 3.ให้มีประมงอาสาเพื่อผลัดเปลี่ยนเวรยามในการดูแลเขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำ 4. ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทั้งในชุมชนเองอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งต้องมีวาระประชุมร่วมระหว่างคนต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำเพื่อแลกเปล่ยนเรียนรู้และติดตามผลการดำเนินดูแลสายน้ำร่วมกัน

    1.รายงาน ส.1 เวทีสัญญาประชาคมผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้บริหารเทศบาลตำบลพนางตุง เมื่อวันที่ 18 พย. 2555 2.คณะทำงานโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลองฯ 3.คณะทำงานประมงอาสาบ้านท่าช้าง 4.สมาคมคนรักษ์ลุ่มน้ำจังหวัดพัทลุง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เชื่อมร้อยการทำงานร่วมกับเครือข่ายสายน้ำคลองท่าแนะแกนนำอาสาสมัครป่าต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ จำนวน40คน ได้ร่วมกันเปลี่ยนการดำเนินงานและร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องของการบริหารจัดการเครือข่ายจะต้องมีคณะกรรมการที่ชัดเจน มีระบบการประชาสัมพันธุ์การดำเนินงานที่ทันสมัย (มีความภาคภมิใจที่ทางคณะทำงานได้รายงานผลงานโครงการผ่านทางอินเตอร์เน็ต)เกิดการเชื่อมร้อยคนต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำด้วยการตั้งคณะทำงานร่วมกัน กำหนดทิศทางเป้าหมายร่วม และกำหนดสิ่งที่แต่ละพื้นที่ต้องกลับไปดำเนินงานเช่นการรณรงค์ลด ละ เลิกการใช้สารเคมีในการเกษตร เลิกการประมงแบบล้างผลาญ การจัดทำข้อมูลสภาพนิเวศคลองฯลฯ และร่วมกันผลักดันในการรวมตัวกันในนาม สมาคมคนรักลุ่มน้ำพัทลุง ในอนาคต

    คณะทำงานเครือข่ายคนรักลุ่มน้ำพัทลุง

    ประสานการดำเนินงานกันตามแผนที่วางไว้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ปัญหาสภาพระบบนิเวศคลองบางไข่ขิง การเก็บข้อมูลพันธ์สัตว์น้ำที่สูญพันธ์ หายาก การถูกทำลายของป่าริมคลอง เปรียบเทียบอดีตกับปัจจุบัน การทำเวทีประชาคมเพื่อรับรองและจัดลำดับความสำคัญ การจัดทำแผนงานตามโครงการ การนำเสนอโครงการต่อ สสส. กาปฏิบัติงานตามโครงการ(รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ)การรายงานผลทางเว็บไซส์ การติดตามผ่ากลไกพี่เลี้ยง การสรุปผลการดำเนินงาน การจัดทำรายงานปิดโครงการ

    โครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ ข้อตกลง 55-00-0715 รหัส 55-00992

    ขยายผลต่อเนื่องในประเด็น โรงเรียนชาวนาบ้านท่าช้าง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    9 สิงหาคม 2556เลี้ยงน้ำชาเพื่อจัดหาทุนสมทบการดำเนินงานตามโครงการคนในหมู่บ้าน80คน 2.คนนอกหมู่บ้าน7คน 3.ได้รับเงินจากการสมทบทุนทั้งหมด 8660บาท

    คณะทำงานโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลองฯ

    ควรมีการจัดตั้งกองทุนสาธารณะเพื่อไว้ใช้จ่ายในกรณ๊ท่มีความจำเป็น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการขับเคลื่อนงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทั้งงานเดิมในการทำนาอินทรีย์ก็มีการขยายผลทั้งภายในและนอกชุมชนร่วมกับภาคีพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของโครงการนี้มีการตั้งทีมงานเพื่อรับผิดชอบดูแลต้นไม้ที่ปลูกไว้ อีกทั้งมีทีมประมงอาสาคอยดูแลเขตสงวนพันธ์สัตว์น้ำ

    คณะทำงานโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลองฯ

    ดำเนินการตามแผนที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    เริ่มตั้งแต่การจัดทำโครงการทีมีการระดมสมองค้นหาสิ่งที่มีคุณค่าอยู่ในอดีตของระบบนิเวศคลองบางไข่ขิง ทั้งสัตว์น้ำ พืชน้ำ พืชริมคลอง และนำเอาความรู้นั้นมาวิเคราะห์ร่วมกับเวทีประชาคมเพื่อตัดสินใจเลือกประเด็นมาดำเนินการแก้ไขปัญหา มีกิจกรรมการสำรวจพันธ์พืช สัตว์น้ำ และป่าสาคูและนำเอาความรู้นั้นมาคืนข้อมูลแก่ชุมชนเพื่อสร้างความตระหนักในคุณค่า และนำไปสู่ความร่วมมือกันในการดำเนินกิจกรรมตามโรงการนี้

    คณะทำงานโครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลองฯ

    ใช้กระบวนการนี้ในประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    การใช้ข้อมูลพันธ์ืพืช สตว์น้ำที่สูญพันธ์หรือหายาก มาเป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจของเวทีประชาคมของหมู่บ้าน เพื่อเลือกประเด็นในการจัดทำโครงการ

    โครงการรักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ ข้อตกลง 55-00-0715 รหัส 55-00992

    ใช้ทักษะนี้ในการแก้ไขปัญหาอื่นของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    คณะทำงานดูแลต้นไม้และทีมประมงอาสากล้าแนะนำตนเองในเวทีสาธารณะของหมู่บ้านและในกิจกรรมสาธารณะอื่นๆ

    คณะทำงานบ้านท่าช้าง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    การร่วมงานสาธารณะอื่นๆทั้งในและนอกชุมชนอย่างสม่ำเสนอ ทั้งของแกนนำและคนในชุมชนที่เข้าร่วมขับเคลื่อนโครงการนี้เป็นเครื่องแสดงให้เห็นถึงการจัดการตนเองอย่างสมดุลของคนในพื้นที่นี้

    คะทำงานบ้านท่าช้าง/กลุ่มแลองค์กรอื่นในชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    วิถีเดิมของคนบ้านท่าช้างส่วนใหญ่ทำนา หาปลา เช่นชุมชนเกษตรชนบททั่วไป การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นการทำนาอินทรีย์ การจัดการคลองล้วนเกี่ยวพันกับอาหารการกิน ที่หล่อเลี้ยงชีวิตของคนที่นี่ การทำนาอิืนทรีย์ครบวงจร การใช้ข้าวพันธ์พื้นเมืองที่ผลิตพันธ์ข้าว ปรับปรุงพัธ์เอง การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ การรวมกลุ่มกันเก็บเกี่ยว การผลิตข้าวกล้อง การบริหารจัดการโรงสีข้าวชุมชน การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวพื้นเมือง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    การลดละเลิกการใช้สารเคมีในการเกษตรและหันมาทำและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ เป็นการเอื้ออาทรต่อทั้งสิ่งมีชีวิตอื่นในห่วงโซ่อาหาร ฟื้นฟูดิน น้ำ อาหารปลอดภัยทั้งต่อคนทำและคนกิน การมีโรงสีชุมชนก็เพื่อผลิตข้าวที่ปลอดภัยเผื่อแผ่แก่คนในชุมชนและนอกชุมชนฯ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การใช้ข้อมูล ข้อเท็จจริงที่ร่วมกันค้นหามาเป็นเครื่องมือประกอบในการตัดสินใจทั้งของวงเล็กระดับคะทำงาน หรือการนำเสนอข้อมูลต่อเวทีประชุมหมู่บ้าน ประกอบในการการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจในทางเลือก เป็นการใช้ปัญญาที่เกิดขึ้นมากกว่าการใช้ปรากฏการณ์และความรู้สึกในการดำเินินงานของชุมชน

    คณะทำงานบ้านท่าช้าง

    ใช้วิธนี้ในกาทำงานในปรเด็นอื่นๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    รักษ์นาต้องรักษ์คลอง ชวนน้องมาช่วยทำ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 55-00992

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพัชรี ยกตั้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด