directions_run

โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย ”

บ้านอ่าวลึกน้อย หมู่ที่ 3 ตำบลอ่าวลึกน้อย อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ รหัสไปรษณีย์ 81110

หัวหน้าโครงการ
นายเหม บุตรหลำ

ชื่อโครงการ โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

ที่อยู่ บ้านอ่าวลึกน้อย หมู่ที่ 3 ตำบลอ่าวลึกน้อย อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ รหัสไปรษณีย์ 81110 จังหวัด กระบี่

รหัสโครงการ 55-01783 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0945

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านอ่าวลึกน้อย หมู่ที่ 3 ตำบลอ่าวลึกน้อย อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ รหัสไปรษณีย์ 81110

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านอ่าวลึกน้อย หมู่ที่ 3 ตำบลอ่าวลึกน้อย อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ รหัสไปรษณีย์ 81110 รหัสโครงการ 55-01783 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 197,525.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อทำความเข้าใจในกระบวนการของโครงการและแนวทางการส่งเสริมการทำสวนปาล์มชุมชนแบบปลอดภัย
  2. เพื่อจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เวทีชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการและให้ความรู้เรื่องผลกระทบของสารเคมีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ใช้ข้อมูลและวิธีการสาธิตให้เห็นผลชัดเจน) พร้อมรับสมัครครัวเรือนที่สนในเข้าร่วมโครงการสวนปาล์มปลอดภัย

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ
    • ให้ความรู้เรื่องผลกระทบของสารเคมีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
    • ประชาสัมพันธ์ครัวเรือนที่สนใจเข้าร่วมโครงการสวนปาล์มปลอดภัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีกลุ่มเป้าหมายหลากหลาย ทั้งกลุ่มแกนนำ ภาคีเครือข่าย และผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ ความเข้าใจโครงการ สังเกตจากการซักถามของผู้ร่วมประชุม

     

    0 0

    2. สำรวจและรวบรวมข้อมูลวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในชุมชน เช่น ทางปาล์มน้ำมัน มูลสัตว์ เศษอาหาร เพื่อทราบปริมาณที่จะนำมาใช้เป็นวัสดุตั้งต้นของการสาธิตและปฏิบัติการทำปุ๋ยอินทรีย์ของชุมชน โดยใช้กลไกกลุ่มยุวเกษตรกรของโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อยเป็นผู้ลงพื้นที่สำรวจ

    วันที่ 26 พฤศจิกายน 2555 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อยจำนวน 50 คนได้ลงพื้นที่สำรวจและรวบรวมข้อมูลวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในชุมชน เช่น ทางปาล์มน้ำมัน มูลสัตว์ เศษอาหาร เพื่อทราบปริมาณที่จะนำมาใช้เป็นวัสดุตั้งต้นของการสาธิตและปฏิบัติการทำปุ๋ยอินทรีย์ของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อยจำนวน 50 คน มีเอกสารในการลงพื้นที่สำรวจ ผู้ใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีในชุมชน โดยแบ่งการลงพื้นที่ไปสำรวจครอบครัวเกษตรกร 75 ครัวเรือน เนื้อที่ประมาณ 678 ไร่ พบว่า เกษตรกรยังมีการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี ยาฆ่าหญ้า และสารเคมีอื่นๆประมาณ 60% ของจำนวนเกษตรกร และพบว่า เกษตรกรประมาณ 71 ครัวเรือนต้องการลดการใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีอื่นๆ เนื่องจากต้นทุนสูง

     

    0 0

    3. ชี้แจงวิธีการจัดเก็บข้อมูลและบันทึกการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีในครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย โดยกลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อย (สำรวจปริมาณการใช้ และราคาของสารเคมีจากเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายและร้านค้าที่จำหน่าย)

    วันที่ 26 พฤศจิกายน 2555

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้มีการอบรมนักเรียน50คนซึ่งเป็นยุวเกษตรกรโรงเรียนในชุมชนอ่าวลึกน้อย เพื่อทำความเข้าใจแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ประชุมชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูล

    • มีเอกสารแบบสอบถามในลงพื้นที่เก็บข้อมูล

    • นัดหมายวันที่ในการรวบรวมข้อมูลทั้งหมด

     

    0 0

    4. จัดเก็บรวบรวมเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เศษอาหาร มูลสัตว์ ของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อนำมาสาธิตการทำปุ๋ยอิทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ ที่ศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร ด้วยวิธีการขนส่งด้วยรถ 6 ล้อ

    วันที่ 3 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เนื่องจากกระบวนการก่อนหน้านี้ในวันที่ 27-30 พ.ย. 2555 นั้นมีการสำรวจและรวบรวมข้อมูลวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในชุมชน จึงทำให้หลังจากกิจกรรมดังกล่าวจึงมีการจัดเก็บรวบรวมเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มูลสัตว์มารวมไว้ที่ศูนย์บริการถ่ายทอด โดยใช้ยุวเกษตรกร ร่วมกับสมาชิกเป้าหมายหลักรวม 75 คน เพื่อรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่ให้เรียบร้อย ก่อนการอบรมและสาธิตการขุดตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดเก็บรวบรวมเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น มูลสัตว์ ทางใบปาล์มน้ำมัน ของกลุ่มเป้าหมายไว้ที่ศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร ด้วยวิธีการขนส่งด้วยรถ 6 ล้อ และมียุวเกษตรกรมาร่วมในการสร้างความเข้าใจในการจัดเก็บเศษวัสดุเหลือใช้ดังกล่าว

     

    0 0

    5. ติดตามการทำรายงานโครงการเพื่อขอเบิกงวด 2

    วันที่ 14 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานโครงการให้พี่เลี้ยงทราบ และขอคำปรึกษาในการดำเนินงานครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานผลการดำเนินงานของโครงการให้พี่เลี้ยงทราบ

     

    0 0

    6. ติดตามการทำรายงานโครงการเพื่อขอเบิกงวด 2 (ครั้งที่ 2)

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แจ้งผู้รับผิดชอบโครงการต้องนำผู้ที่มีความชำนานด้านคอมพิวย์เตอร์มาด้วเพื่อพิมย์รายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การดำเนินงานในการรายงานกิจกรรมโครงการสามารถรายงานส่ง สสส.ได้ตามเป้าหมาย

     

    0 0

    7. จัดอบรมและสาธิต การทำปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร โดยกระบวนการย่อยสลายของใส้เดือนดิน

    วันที่ 6 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมเกษตรกรเป้าหมาย  75 คน เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ของกิจกรรมโดยเชิญ นักวิชาการเกษตรจาก กรมส่งเสริมการเกษตร และนักวิชาการจากสำนักงานพัฒนาที่ดิน จังหวัดกระบี่ มาเป็น วิทยากร  ในการให้ความรู้ และสาธิต วิธีในการทำปุ๋ยอินทรีย์ฯ โดยศึกษาข้อมูลจาก  power point จากนั้นจึงรวบรวมวัสดุเหลือใช้ที่เตรียมไว้ซึ่งผ่านกระบวนการหมักแล้ว ลงแปลงตัวอย่างประมาณ 2-3 ต้น ทดลองทำ และเปรียบเทียบให้เห็นถึงกระบวนการย่อยสลายจากที่ทางผู้ดำเนินงานโครงการได้ทำไว้ก่อนหน้านี้แล้ว อย่างชัดเจนในแปลงตัวอย่าง และทำการคัดเลือก กลุ่มเป้าหมาย นำร่อง 10 แปลงเพื่อดำเนินการเป็นตัวอย่างโดยการจับฉลาก
    - ประชาสัมพันธ์ครัวเรือน ชุมชน ตลอดจนหน่วยงานภาคีอื่นๆได้เข้าใจเพื่อให้เห็นความสำคัญ และได้รู้จักเว็บไซด์ กรมส่งเสริมการเกษตร   - ที่ประชุมสภาเกษตร   - ที่ประชุม สำนักงานธนาคารเพื่อการเกษตร ในการจัดทำแผนพัฒนา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คิดเป็น  สังเกตจากการเลือก สถานที่ไม่โดนแดดมาก
      และไม่เลือกที่ลุ่มที่ประเมินว่าน้ำจะท่วมขัง   รู้ขั้นตอนว่าต้องทำอย่างไร  ให้ความสนใจ

     

    0 0

    8. ส่งเสริมการทำสวนปาล์มแบบ ปลอดภัย

    วันที่ 8 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เนื่องจากในกิจกรรมนี้มีกระบวนการสืบเนื่องมาจากกิจกรรมก่อนนี้โดยสิ้นเชิง จำเป็นต้องต่อเนื่องในกระบวนการของกิจกรรม คัดเลือก โดยการจับฉลาก 10 แปลง ทำการขนวัสดุที่ผ่านกระบวนการหมักแล้วที่ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตร สู่แปลงเกษตรกร (10แปลง)ใช้เวลา10วัน โดย หมุนเวียนเปลี่ยนกันไปช่วยกัน ตามที่ได้ฝึกอบรมและดูการสาธิตมากำหนดระยะเวลาตั่งแต่ 8-18 มีนาคม แล้วเสร็จ   วันที่ 20 มีนาคม เตรียมแปลง กลุ่มเป้าหมายสองกลุ่มยุวเกษตรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย  สมาชิก 30คน ไถดิน, เตรียมดินแล้วเสร็จ รอสมาชิกในโรงเรียนเปิดเทอม ดำเนินการได้เต็มรูปแบบทั้งระบบ

    ประชาสัมพันธ์ผ่านหน่วยงานภาคี และ ผู้มาศึกษาดูงาน จาก หนองแขม  ก.ทม จำนวน 205 คน เว็บไซค์ กรมส่งเสริมการเกษตร ศูนย์บริการ

    เสียงตามสายชุมชนและโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย
    สถานีวิทยุ ส.วท กระบี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ความสนใจในการปฏิบัติ ได้รับความร่มมือดีมากและบางรายคาดหวังจะใช้งบประมาณและเทคนิคส่วนตัว ส่วนตัวขยายให้เต็มพื้นที่แปลงของตัวเอง

     

    0 0

    9. อบรมและสาธิตการตรวจสอบคุณภาพดิน และลงพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันของกลุ่มเป้าหมายเพื่อทำการจัดเก็บดิน ในส่วนเพื่อส่งตรวจสอบคุณภาพกับทางเกษตรอำเภอ

    วันที่ 20 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 75คน โดย วิทยากรนักวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร  , นักวิชาการจากสำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดกระบี่ ให้ความรู้เรื่องดินและคุณภาพดินที่เหมาะสมกับการเติบโตของปาล์มน้ำมัน และเห็นความต่างของการใช้ปุ๋ยเคมี กับปุ๋ยอินทรีย์ ตลอดจน พิษภัยสะสม จากสารเคมีทุกชนิดที่ปรากฏอยู่ในดินเก็บผลที่เกิดสะสมในร่างกาย จากภาพประกอบใน ตลอดจนสาธิตวิธีการเก็บตัวอย่างดินเพื่อนำไปวิเคราะห์ โดยทฤษฏีและปฏิบัติในแปลง  ตัวอย่าง และมอบหมาย ให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายกลับไปขุดดินในแปลงของเกษตรกรมาส่งที่ศูนย์บริการฯ เพื่อรวบรวมส่งให้กับเกษตรอำเภอ ส่งต่อ สำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดกระบี่ส่งตรวจต่อไป

    ประชาสัมพันธ์ ชุมชน และสมาชิกเป้าหมาย เสียงตามสาย เว็บไซค์ : กรมส่งเสริม ศ.บกต ส.วท.11

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรกรเริ่มเข้าใจและเห็นความต่างในเรื่องของต้นทุน ในเบื้องต้นจากการผลิตที่ผ่านมาเห็นโทษ กับตนเองหากใช้ไปเป็นเวลานานกับสารเคมีทุกชนิด     เห็นวิวัฒนาการในการใช้เครื่องมือ สมัยใหม่ในเบื้องต้น และระยะยาว ด้วยภาวะเศรษฐกิจที่ฝืดเคือง อยากจะประหยัด ให้ความร่วมมือดี ในการเก็บตัวอย่างดิน มาเพื่อส่งตรวจ

     

    0 0

    10. ตรวจเอกสารและการติดตามโครงการ

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บรรลุตามวัตถุประสงค็

     

    0 0

    11. กิจกรรมสืบเนื่องจากกิจกรรมที่11 เมื่อวันที่20 มีนาคม 2556 กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย จัดกิจกรรมเมื่อ 16พ.ค. 56 (หลังจากโรงเรียนเปิดภาคเรียน 1 สัปดาห์)

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ


    อบรมและสาธิตการทำปุ๋ยมักโดยวิธีปฏิบัติโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน แบ่งพื้นที่ในแปลงเกษตรออกเป็น 5 ส่วน/ ทุกกลุ่มต้องมีกองปุ๋ยมักเพื่อเป็นปุ๋ยในการใช้ปลูกผัก ในแปลงเกษตรของโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย ประชาสัมพันธ์โครงการ

    ให้ผู้ปกครองได้ทราบโดยใช้นักเรียนละประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -นักเรียนปฏิบัติได้ -คิดเป็นทำเป็น -นักเรียนรู้จักช่วยเหลือกันปรึกษาหารือกัน

     

    0 0

    12. ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อให้ความรู้และเผยแพร่การทำงานโครงการและการหนุนเสริมครัวเรือน

    วันที่ 14 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แจ้งเกษตรกลุ่มเป้าหมาย 75 ราย ให้ขุดดินในแปลงของตัวเองมาตรวจคุณภาพดินเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลง โดยมีแปลงตัวอย่าง 10 แปลงเป้าหมายเป็นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงใช้เวลา2วันในการรวบรวมตัวอย่างดินเพื่อส่งต่อให้สำนักพัฒนาที่ดินจังหวัดกระบี่ตรวจสอบคุณภาพดินในเบื้องต้น โดยปฏิบัติตามหลักการและวิธีการที่ฝึกอบรมมาแล้วก่อนหน้านี้เกี่ยวกับตัวอย่างดินเพื่อส่งตรวจสอบคุณภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรกรเป้าหมายเริ่มเห็นความสำคัญ สังเกตจากการดิ้นรนเพื่อที่จะส่งตัวอย่างดินและเรียกร้องให้ลดระยะเวลาการฟังผลให้เร็วที่สุดเพื่อที่จะจัดการรายการผลิตได้เร็ว

     

    0 0

    13. ตรวจเอกสารและการติดตามการดำเนินงานโดย สจรส.

    วันที่ 24 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจเอกสารโครงการและชี้แจงการปฏิบัติงานโครงการ จาก สจรส. ม.อ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บรรลุตามเป้าหมาย

     

    0 0

    14. เวทีนำเสนอตรวจสอบคุณภาพดินผลการตรวจสอบคุณภาพดินและวิเคราะห์แนวทางแก้ไข

    วันที่ 28 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีขนานย่อมในลักษณะประชุม  เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเชิญวิทยากรจากสำนักพัฒนาที่ดิน จ.กระบี่ และเกษตรอำเภออ่าวลึกมาเป็นวิยากรให้กับเกษตรกรปาล์มน้ำมัน ต.อ่าวลึกน้อย 75 คน แจ้งผลการตรวจสอบคุณภาพดินและเปรียบเทียบให้เห็นถึงคุณลักษณะที่ต่าง –ทั้งคุณภาพดิน -ต้นทุนการผลิต ข้อดีของการใช้เกษตรอินทรีย์ 1 ดินมีความโปรง 2 ระยะเวลาการปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืชยาวกว่า 3 ตอบสนองปุ๋ยเคมีจากการกำหนดใช้ดีกว่า ตามความเป็นจริง 4 ลดต้นทุนการผลิตได้ถึง25% 5 ดินมีจุลินทรีย์ที่ควบคุมระบบต่างๆในรากและต้นพืชมีผลต่อการให้ผลผลิต ข้อเสีย 1 ต้องเตรียมการเสียเวลาสำหรับทุนนิยม เวลาในปัจจุบันรีบเร่งตลอดแรงงานมีราคา/วันสูง 2 ธาตุอาหารทดแทนตามต้องการไม่ครบร้อยเปอร์เซ็นต์กับวัตถุดิบชีวภาพ(มูลสัตว์) ข้อดีของเคมี 1 โครงสร้างดินเสีย 2 ต้นทุน1 กระสอบสูง 3 มีพิษค้างในผลผลิต เช่นยาฆ่าหญ้าและปุ๋ยเคมีบางตัว 4 จุลินทรีย์และสัตว์หน้าดินโดยเฉพาะไส้เดือนดินจะตายหมดเทื่อใช้ไปนานๆ 5 ผิวดินไม่อุ้มน้ำรักษาความชื้นในยามวิกฤตหรือภาวะแล้งปริมานน้ำน้อย ไม่ได้ผลการตรวจคุณภาพดีในแปลงตัวอย่าง 10 แปลง ไม่เกิดความแตกต่างมากนักเมื่อรวมทั้งพื้นที่ แต่พื้นที่หรือจดจำเพราะเปรียบเทียบที่ใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากการใช้วัสดุ หรือใช้ในแปลงดีมาก PH ดินอยู่ที่6.5 เหมาะแก่การเจริญเติบโตให้ผลผลิตของปาล์ม N.O.62P.O.60K.O.44C.15.51. อินทรีย์ วัตถุ 29.93 ความชื้น 37.06 สรุปเป็นที่น่าพอใจระดับหนึ่งหากแม้ได้ทำเต็มพื้นที่จะดีมาก แต่ต้นทุนสูง ผลจากการวิเคราะห์ตรวจสอบดินในแปลงเกษตรของยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อยจากการตรวจสอบคุณภาพดิน PHดิน6.5 NO.72 P.O.72KO.44C16.51ซากพืช7.34อินทรีย์ วัตถุ29.93 ความชื้น38.64 นับว่าดีมากสำหรับการปลูกผักใบ/ผักสวนครัวและทุกกลุ่มมีกองปุ๋ยหมักเป็นของตัวเองทั้ง5 กลุ่ม หลีกเลี้ยงการใช้สารเคมีทุกชนิด

    ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย ได้ให้ความสำคัญตลอดจนครัวเรือน โรงเรียน ชุมชน หน่วยงาน อื่นๆ ได้สำเร็จ -ที่ประชุมสภาเกษตร -ที่ประชุม กม. ศาลาประชาคม อ.อ่าวลึก อ.เกาะลันตา อ.คลองท่อม โดยกรมส่งเสริมการเกษตรเสียงตามสาย อ.บ.ต. อ่าวลึกน้อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลายท่านเข้าใจ หลายท่านคำนึงถึงแรงงานและเวลาในการปฏิบัติเป็นหลักเพราะพื้นที่มาก ไม่สามารถปฏิบัติได้ในเวลาเดียวแปลงเกษตร โรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย ผลตรวจเช็คคุณภาพดิน ดีมากเหมาะแก่การปลูกผักและยุวเกษตรกรสนใจมาก และปฏิบัติได้ ทุกกลุ่มมีกองปุ๋ยของตัวเองงและไม่ใช้เคมีทุกชนิด

     

    0 0

    15. 5. เวทีประเมินผลการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพดินและคุณภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชน

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2556 เวลา 09.00 -16 .00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ปรึกษาและเชิญกองทัพเรือภาคที่ 3 จังหวัดภูเก็ต ปฏิบัติงานในพื้นที่ จังหวัดกระบี่ ร่วมเป็นวิทยาการและสนับสนุนการจัดเวทีสัมมนา โดยหัวหน้าฝ่ายฝึกอบรมกองทัพเรือภาคที่3จังหวัดภูเก็ต  ณ โรงแรมเมาท์เทนรีสอร์ท  อำเ ภอ อ่าลึก มีสมาชิกกลุ่มเป้าหมายของโครงการผละผู้นำชุมชน ตำบลอ่าวลึกน้อย เข้าร่วม 95 คน


    โครงการชีวินทรีย์จ่ายเฉพาะค่าอาหารกล่องอิสลามและค่ายานพาหนะ คนละ 50 บาท  ที่เหลือกองทัพภาคที่ 3 รับผิดชอบและทางกองทัพภาคที่ 3 ได้มอบเต้นให้มัสยิดบ้านอ่าวลึกน้อย 1 หลังและชมว่าเป็นโครงการที่ดี ของ ส.ส.ส. และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งจะมีประโยชน์มากกับโลกอนาคตเป็นเทคโนโลยีที่มีผลโดยตรงกับประเทศไทยซึ่งเป็นฐานของเกษตรกรรม

    เนื้อหาการบรรยายอ้างถึง -สภาพแวดล้อมที่ถูกทำลายโดยมนุษย์ที่ทำให้เกิด สึนามิ -ปัจจัยจาก โรงงานอุตสหกรรมที่ปล่อยสารเคมีลงในทะเลมีผลกับสภาพแวดล้อม -ขยะและการผลิตภาคเกษตรที่มีผลต่อโลกร้อน -การผลิตภาคเกษตรที่เน้นแต่ปริมาณจนลืมความปลอดภัยของส่วนรวม
    -ทางรอดของชุมชน ในเรื่องอาหาร การผลิตอาหาร ทีมีทรัพยากรธรรมชาติเป็นทุนและความปลอดภัยให้กับชีวิต -ครัวเรือนชุมชน มีผลโดยตรง กับการขับเคลื่อนความเป็นอยู่และการดำรงชีวิต ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ในนามผู้ผลิตและผู้บริโภค -เรื่องคุณภาพดินเปรียบเทียบแหล่งใช้สารเคมีกับใช้วัฏจักรไส้เดือนดินได้ยกตัวอย่างภาพให้เห็นแล้วในกิจกรรมก่อนหน้านี้ -ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายให้ได้ความสำคัญตลอดจนชุมชน ครัวเรือนหน่วยงานและภาคอื่นๆให้ได้เข้าใจ
    เว็บไซต์กรมส่งเสริมการเกษตร
    ที่ประชุมการทำแผนพัฒนาการขับเคลื่อนยุธศาสตร์ อำเภอ อ่าวลึกและการทำแผนพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ จังหวัดกระบี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลายคนเข้าใจจากการที่สังเกตการตั้งคำถามแต่หลายคนยังยึดติดกับความง่ายและคล่องตลอดถึงตัวเงินว่าจะทำอะไรสักอย่างต้องใช้เงินทั้งนั้นและต้องให้เงินสนับสนุนให้มาก

     

    0 0

    16. ตรวจเอกสารและการติดตามการดำเนินงานโดย สจรส.

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บรรลุตามวัตถุประสงค็

     

    0 0

    17. เวทีประเมินผลการดำเนินงานโครงการและการหนุนเสริมครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน

    วันที่ 6 สิงหาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    เนื่องจากกิจกรรมเป็นกิจกรรมกระบวนการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เนื่องจากกิจกรรมเป็นกิจกรรมกระบวนการเลื่อนไปจัดกิจกรรมในวันที่ 9 เดือนกันยายน 2556

     

    0 0

    18. ลงพื้นที่ติดตามโครงการ บ้านอ่าวลึกน้อย

    วันที่ 3 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สุ่มติดตามสมาชิกกลุ่มสวนปาล์มที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ตามวัตถุประสงค์ และสำนักงานโครงการชีวินทรีย์กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และบริบททั่วไปที่ได้รับผลสืบเนื่องจากกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผลิตภัณฑ์ของโครงการ เกิดผู้นำใหม่และเกิดกระบวนการการให้ความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี

     

    0 0

    19. ศึกษาดูงานด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์โดยอาศัยกระบวนการย่อยสลายของไส้เดือนดิน

    วันที่ 6 กันยายน 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำตัวแทนกลุ่มเป้าหมายสองคือกลุ่มยุวเกษตรกร,กลุ่มเลี้ยงแพะ,กลุ่มอาหารสัตว์ศึกษาดูงานในพื้นที่จากกลุ่มผลิตปาล์มน้ำมัน75รายดู10แปลงนำร่องเพื่อให้เห็นและเห็นความสำคัญของใส้เดือนดินในสวนปาล์มน้ำมันและกระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นตลอดจนทั้ง4กลุ่มเป้าหมายจะเป็นวัฎจักรของกันและกันในกระบวนการเพื่อสนองถึงสุขภาพความปลอดภัยในชีวิตและสุขภาพ รวมสมาชิก 36ราย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทั้ง4กลุ่มเป้าหมายเลงเห็นถึงคุณค่าและวาดหวังสู่การปฎิบัติที่ต้นทุนต่ำและผลผลิตดี หากปฎิบัติสม่ำเสมอ และสามารถต่อยอดวัสดุทดแทนไว้ทุกรูปแบบที่ย่อยสลายได้ด้วย ตัวเองและใส้เดือนดิน

     

    75 36

    20. เวทีประเมินผลการดำเนินโครงการและการอุดหนุนเสริมครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานประกาศเกียรติคุณสำหรับครอบครัวต้นแบบสวนปาล์มปลอดภัย

    วันที่ 9 กันยายน 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้กล่าวแจ้งความเป็นมาของโครงการที่ได้รับงบประมาณจาก สสส.และแจ้งถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ,การดำเนินการโครงการกับกลุ่มเป้าหมายของชุมชนอ่าวลึกน้อยหมู่ที่3 ผลที่ชุมชนได้รับและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระดับหนึ่งของโครงการแก่ท่านประธานในพิธี นายนิกร จันอำไพ นายอำเภออ่าวลึกมีหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เช่นเกาตรอำเภออ่าวลึก พัฒนาการอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ หัวหน้า รพสต.ตำบลอ่าวลึกน้อย กลุ่มเป้าหมายหลัก,รอง ตลอดจนประชาชนไปชุมชน และมอบรางวัลเกียรติคุณให้แก่กลุ่มเป้าหมาย2กลุ่มคือกลุ่มผลิตปาล์มน้ำมัน 1ครัวเรือนและกลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อยรวม2รางวัลและร่วมรับประธานอาหารกล่าวปิดโครงการโดย นายนิกร จันอำไพนายอำเภออ่าวลึก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและเห็นความสำคัญของชีวิตร่างกายและสุขภาพจากการกินอาหารปลอดภัย ปลอดสารพิษ จากสารเคมีและโรคจากสารเคมี การนำวัดุเหลือใช้มาลดต้นทุนโดยกระบวนการและและคุณค่าของชีวิตเล็กๆคือ ใส้เดือนดิน และจุลินทรีย์ในกระบวนการผลิตจากปุ๋ยมูลใส้เดือนและฉี่ใส้เดือนดินโดยวัสดุเหลือใช้ที่มีปัญหาทางสังคมในชุมชนและแปลงผลิตของเกาตรกร ความสุขตามสุขภาวะ4มิติเกิดขึ้นระดับหนึ่งด้วยสำนึก

     

    75 75

    21. ตรวจเอกสารและการติดตามการดำเนินงาน-ปิดโครงการโดย สจรส.

    วันที่ 21 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บรรลุตามวัตถุประสงค็

     

    0 0

    22. ภาพกิจกรรมตลอดโครงการ

    วันที่ 22 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เก็บภาพในพื้นที่และนอกพื้นที่เป็นรูปกิจกรรมในรูปแบบต่างๆเพื่อนำเสนอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถนำเสนอภาพกิจกรรมในรูปแบบต่างๆสู่สาธรณะชนได้

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อทำความเข้าใจในกระบวนการของโครงการและแนวทางการส่งเสริมการทำสวนปาล์มชุมชนแบบปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : .การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการเกษตรลดลง อย่างน้อย 30 ครัวเรือน ปัจจุบันมีปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีในชุมชนประมาณ 179 ตัน/ปี คิดเป็นเงินประมาณ 3.1ล้านบาท/ปี การใช้สารเคมีในชุมชนแต่ละชนิดปีละประมาณ

     

    2 เพื่อจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
    ตัวชี้วัด : ปริมาณวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรลดลง 25% ตัน/ปี ปัจจุบันมีวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร(ทางปาล์ม ดอกเกสรตัวผู้)ประมาณ 0.5 ตัน/ไร่/ปี เมื่อโครงการนี้สำเร็จจะสามารถนำเศษเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อทำความเข้าใจในกระบวนการของโครงการและแนวทางการส่งเสริมการทำสวนปาล์มชุมชนแบบปลอดภัย (2) เพื่อจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

    รหัสโครงการ 55-01783 รหัสสัญญา 55-00-0945 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    1. กายภาพ ดินดี
    2. สังคม ขยะ
    3. เศรษฐกิจ
    4. สิ่งแวดล้อม

    ชี้นำวัฏจักรความเป็นจริงระหว่างมนุษย์ สัตว์ สี่งแวดล้อม (ฟื้นฟูธรรมชาติ) เช่น ไส้เดือนช้วยกำจัดสารเคมี   ไส้เดือนมีคุณประโยชน์กำจัดแมลง   ไส้เดือนเป็นตัวผสมในยา

    • เกิดจากกระบวนการทำ และปฎิบัติที่เป็น เอกสารที่นำมาประยุกต์
    • website
    • เอกสารที่เป็นองค์ความรู้
    • มีเครือข่าย
    • ทำให้เรื่องนี้เป็นวิถี
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
    1. ได้ฮอร์โมน ที่เกิดจากฉี่ไส้เดือนดิน
    2. ได้ปุ๋ยที่เกิดจากมูลไส้เดือนดิน
    3. ได้วิชาความรู้ใหม่เรื่องวัฏจักรไส้เดือนดิน
    4. ตัวไส้เดือนดินที่มีอายุ 2-3 ปี นำไปเป็นพ่อแม่พันธุ์
    • ไส้เดือนดินที่กำลังเจริญเติบโต
    • ข้อมูลราคาการซื้อขายของพ่อแม่พันธุ์
    • นำผลผลิตที่ได้ขายเป็นสินค้า
    • เขียนเป็นตำรา
    • เป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่
    • ผู้นำตื่นตัว และให้การร่วมมือกับชุมชน
    • ไม่ได้ผิดหลักศาสนา จึงมีการใช้หลักศาสนาให้สอดคล้องกับโครงการ
    • เห็นบทบาทของผู้นำชุมชนมากขึ้น
    • ได้รับความร่วมมือผ่านการประชุมทุกครั้ง

    สร้างกลุ่ม 3 กลุ่มการเรียนรู้

    1. กลุ่มเดิม 75 ครัวเรือน
    2. กลุ่มเลี้ยงสัตว์ในชุมชน
    3. เชื่อมโยงกลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อย
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
    • ประกาศให้ชุมชนได้รับรู้ถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ
    • เปิดโอกาสให้กับภาคีเครือข่ายร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    • ประชาสัมพันธ์โครงการให้ชุมชนทราบ
    • มีคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการระดับตำบล
    • มีเวทีทำความเข้าใจให้กับคนในชุมชนได้รับรู้
    • ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ประกาศให้ชุมชนได้รับรู้
    • ค้นหาแกนนำ
    • ขยายพื้นที่
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
    • การจัดการกลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อย โดยโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย
    • กลุ่มเลี้ยงสัตว์ในชุมชน
    • มีกลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อย จำนวน 30 คน
    • มีกลุ่มเลี้ยงสัตว์ จำนวน 5 กลุ่ม

    เกิดกลุ่มสภาเด็กที่ อบต. ร่วมกับโครงการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
    • ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลอ่าวลึกน้อย
    • ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงประจำตำบลอ่าวลึกน้อย
    • แปลงสาธิตการเกษตรของกลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อย

    มีภาพกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากแหล่งเรียนรู้ทั้ง 3 แหล่ง

    • เผยแพร่ในกิจกรรม
    • เปิดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ถาวร
    • มีผลผลิต มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ ตระหนักรู้ รู้จักการจัดการขยะให้มีค่า

    • ชาวบ้านซื้อสารเคมีลดลง
    • เกิดการตระหนักรู้ถึงโทษของการใช้สารเคมี

    เป็นแบบอย่างที่ดีให้คนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารมากขึ้น

    ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนลดลง

    บอกต่อเครือข่ายในชุมชนใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    กระบวนการในช่วงการทำกิจกรรมเป้นการออกกำลังกายด้วยในระดับหนึ่ง

    สังเกตจากกระบวนการทำที่ต้องมีแรงงานคน เข้าร่วมโครงการ

    การสร้างแรงจูงใจ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
    • สร้างความตระหนักให้กรรมการ และคนในชุมชนได้ลด ละ และเลิกในที่สุด
    • ในการประชุมแต่ละครั้งได้กล่าวถึงภัยของบุหรี่
    • มีการติดป้ายรณรงค์ในการลดบุหรี่
    • มีช่องทางในการให้ความรู้แก่คนในชุมชน

    สร้างความตระหนักให้คนในชุมชนได้รู้ของพิษภัยของบุหรี่ และอบายมุขต่างๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    มีการสังสรรค์พูดคุย ปรับทุกข์ในช่วงกิจกรรม

    • คนที่เคยแตกแยกได้มารวมตัวกันในการทำกิจกรรม
    • คนที่คิดในแง่ลบกับโครงการหันมาให้ความร่วมมือ

    การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการหารือกันบ่อยครั้ง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการใช้ประโยชน์จากไส้เดือนดินมาสร้างมูลค่าเพิ่ม

    ครัวเรือนต้นแบบ

    ขยายครัวเรือนต้นแบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
    • มีการเลือกซื้ออาหารในการบริโภค
    • การร่วมกิจกรรมในชุมชน
    • ลดรายจ่าย
    • คนในชุมชนให้ความร่วมมือมากขึ้น

    ขยายครัวเรือนต้นแบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
    • มีการจัดการขยะที่เป็นระบบ และเกิดองค์ความรู้ใหม่ในชุมชนเกี่ยวกับประโยชน์ของวัฏจักรไส้เดือนดิน
    • สภาพดินดีขึ้น
    • การใช้สารเคมีทางการเกษตรลดน้อยลง
    • ครัวเรือนสมาชิกมีการปลูกพืชส่วนครัวไว้บริโภค

    จำนวนขยะในครัวเรือน และชุมชน ได้นำมาใช้ประโยชน์เลี้ยงไส้เดือนดิน

    สร้างเครือข่ายในการจัดการขยะชมุชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
    • มีครอบครัวตัวอย่างของเกษตรกรในชุมชน
    • การให้ความสำคัญกับกลุ่มเด็กรุ่นใหม่
    • มีเวทีแลกเปลี่ยน พูดคุย
    • ปฏิบัติตามหลักศาสนา
    • ครอบครัวตัวอย่าง
    • กลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อย
    • เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    • บัญญัติศาสนา
    • ขยายต่อครัวเรือน
    • ขยายสมาชิกในกลุ่มยุวเกษตรกรบ้านอ่าวลึกน้อย
    • เกิดเวทีสาธารณะในชุมชน
    • มีหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีผลิตภัณฑ์จากไส้เดือนดิน เช่น ฉี่ไส้เดือนดิน มูลไส้เดือนดิน ตัวไส้เดือนดิน และพันธุ์ไส้เดือนดิน

    มีหน่วยงานของราชการและเอกชน สั่งจองสินค้า

    พัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์ในการเพิ่มปริมาณให้เพียงพอกับความต้องการของตลาด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    ใช้หลักการตามหลักศานาอิสลาม

    มีมติที่ประชุม และกฎระเบียบของศาสนา

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ใช้หลักการตามศานาอิสลาม

    มติที่ประชุมของคณะกรรมการ

    เป็นแบบอย่างที่ดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    ยึดแนวทางของศาสนาเป็นแนวปฏิบัติ

    หลักศาสนาในการปฏิบัติ

    เป็นแบบอย่างที่ดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
    • หลักสูตรท้องถิ่นในเรื่องของเศรษฐกิจ และลดรายจ่ายในครัวเรือน
    • ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบลอ่าวลึกน้อย

    มีหน่วยงานเข้ามาสนับสนุน เช่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, เกษตรอำเภอ, กรมส่งเสริมการเกษตร, กรมพัฒนาที่ดิน, โรงเรียน, สภาเกษตรจังหวัดกระบี่, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์, กรมประมงอำเภออ่าวลึก ,สาธารณะสุขอำเภออ่าวลึก และศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบลอ่าวลึกน้อย

    • ดำเนินงานให้เกิดความยั่งยืน โดยการใช้สำนักงานชีวินทรีย์ในการเชื่อมโยงกับหน่วยงานและชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
    • มีคณะทำงาน
    • มีคณะกรรม นักวิชาการ จากกรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร และกรมพัฒนาที่ดิน
    • เกษตรตำบล
    • เกษตรอำเภอ
    • อบต.
    • ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบลอ่าวลึกน้อย

    คณะทำงานนำความรู้ต่างๆขยายผลต่อ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ใช้ปราชญ์ชุมชนด้านพัฒนาที่ดิน และด้านศาสนา

    ปราชญ์ชุมชน

    นำองค์ความรู้ที่ได้พัฒนาต่อ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
    • คณะทำงานของโครงการ และคณะทำงานของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบลอ่าวลึกน้อย
    • แผนงานในการปฏิบัติงาน
    • คณะทำงาน
    • ข้อมูลตำบล
    • บูรณาการกับศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบลอ่าวลึกน้อย
    • บูรณาการกับนักวิชาการชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ฐานเรียนรู้ในชุมชน

    • คณะกรรมการ
    • ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบลอ่าวลึกน้อย
    • ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
    • ครอบครัวตัวอย่าง บุคคลตัวอย่าง
    • กรรมการ
    • ข้อมูล
    • แผนงาน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
    • ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา
    • สังเคราะห์เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
    • วางแผน
    • ประสานงานบูรณาการณ์กับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
    • กระบวนการทำงานในที่ประชุม
    • จากการประชุมร่วมกับเจ้าของแหล่งทุน
    • พี่เลี่ยงแนะนำ

    ขยายผลต่อชุมชนใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ โดย

    • การกระตุ้นให้ชุมชนตื่นตัว
    • ได้ใช้ความรู้ที่เรียนมาให้เกิดประโยชน์สูงสุดในชุมชน
    • คณะทำงานเกิดการยอมรับ เคารพสิทธิ
    • ชุมชนมีส่วนร่วม

    สามารถจัดตั้งคณะกรรมการ และทำงานเชื่อมโยงกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้องได้อย่างหลากหลาย

    • ขยายผลรูปแบบลักษณะโครงการให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ต่อ
    • เกิดชุดความรู้ -เป็นแหล่งเรียนรุ้ที่ดี
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้เข้าร่วมโครงการ

    มีภาคีที่หลากหลาย

    ประชาสัมพันธ์โครงการร่วมสร้างชุมชนน่าอยู่ให้ชุมชนอื่นร่วมกันเสนอโครงการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

    เป็นครอบครัวที่ไม่ฟุ้มเฟือย ไม่มีหนี้สิน สำมะถะ

    นำมาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ประเพณี วัฒนธรรม เป็นตัวเชื่อมร้อย

    พิธีกรรม ประเพณีต่างๆ โดยไม่คิดค่าแรง

    ความดีงาม วิถีปฏิบัติของชุมชน เป็นแบบอย่างที่ดีต่อชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    เคารพกติกากันด้วยข้อมูล และรับฟังเหตุผลด้วยสติ

    การมีมติการตัดสินใจไม่มีการแตกแยก

    รูปแบบ กระบวนการ การพิจารณาและพัฒนาโครงการของสสส. เป้นแบบอย่างที่ดี ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการชีวินทรีย์ เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย จังหวัด กระบี่

    รหัสโครงการ 55-01783

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเหม บุตรหลำ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด