directions_run

โครงการองค์กรเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวังพญา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการองค์กรเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวังพญา ”

7 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7

หัวหน้าโครงการ
นางพารีเด๊าะ หะยีสะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการองค์กรเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวังพญา

ที่อยู่ 7 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 55-00227 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0240

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2555 ถึง 1 มีนาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการองค์กรเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวังพญา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 7 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการองค์กรเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวังพญา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการองค์กรเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวังพญา " ดำเนินการในพื้นที่ 7 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7 รหัสโครงการ 55-00227 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2555 - 1 มีนาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 208,850.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต
  2. เพื่อส่งเสริมกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มเด็กกำพร้า กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ให้สามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างถัวถึงและเท่าเทียม
  3. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการเครือข่ายสุขภาพชุมชน ทั้งกลุ่มอาชีพ องค์กรการเงินหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการระบบการดูแลสุขภาพเพื่อนำไปสู่การวางแผนและการปฏิบัติร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เริ่มประชุม เวลา 09.00 จนกระทั้งถึงเวลา 12.00 น.

    • มีผู้เข้าร่วมในกิจกรรมจำนวน 15 คน ประกอบด้วย ผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ทหารผู้รับผิดชอบในพื้นที่ ณ ห้องประชุม อบต. วังพญา 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมตามเป้าหมายที่วางไว้ ผลจากการประชุมได้ผลคร่าวๆ ดังนี้

    1. ให้มีการประชาสัมพันธ์ เพื่อเข้ารับการอบรมฯ จำนวน 60 คน จาก 7 หมู่บ้าน ของตำบลวังพญา

    2. แบ่งหน้าที่คณะทำงานในการดูแลหมู่บ้านเป้าหมายหมู่บ้านละ 2 คนต่อหมู่บ้าน

    2.1 การเตรียมความพร้อมการเปิดรับสมัครเป็นอาสาสมัคร จาการดำเนินการประชุมในครั้งนี้ได้มีการกำหนดรูปแบบการดำเนินงาน เพื่อเตรียมความพร้อม และวางแผนการรับสมัครผู้เข้าร่วมรับการอบรมเป็นอาสาสมัครและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ / โซนรับผิดชอบ  ในการดูแลให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายในชุมชนพร้อมให้คำปรึกษาเยียวยาด้านสุขภาพ,  การให้องค์ความรู้และการปฏิบัติงานในพื้นที่ในด้านการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, การปลูกผักปลอดสารพิษ และการส่งเสริมอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบและสามารถคัดกรองประเมินกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาสุขภาพได้เบื้องต้นให้กับกลุ่มเป้าหมายไม่ว่าจะเป็น กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและผู้ป่วยเรื้อรังให้สามารถพึงตนเองในการดูแลและเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง 2.2 กิจกรรมอบรมอาสาสมัครข้อมูลสุขภาวะชุมชน จำนวน 60 คน เป็นเวลา 2 วัน  เพื่อให้ความรู้ใน ด้านการเป็นอาสาสมัคร ,การเก็บข้อมูลด้านสุขภาพ,การให้บริการด้านสุขภาพ ,การให้ความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง,การปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อให้อาสาสมัครเป็นกลางในการให้ความรู้ให้คำแนะนำแก่กลุ่มเป้าหมายประกอบครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง ,ผู้สูงอายุ ในพื้นที่ 2.3 อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยือนติดตามครอบครัวผู้ป่วย,กลุ่มเสี่ยง ระยะเวลา 2 เดือนเพื่อลงพื้นที่ในการแนะนำองค์ความรู้หลังจากการฝึกอบรม ไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทั้งการเก็บข้อมูลบันทึกข้อมูลและติดตามผลการดำเนินงานหลังจากได้รับปัจจัยการเกษตรในการส่งเสริมสนับสนุนอาชีพให้แก่กลุ่มครอบครัวผู้ป่วย,กลุ่มเสี่ยง,ผู้สูงอายุ 2.4 กิจกรรมสรุปบทเรียนการติดตามประเมินผล เพื่อเป็นการสรุปผลการดำเนินงานในห้วงที่ผ่ามาว่าประสบปัญหา อุปสรรคในการดำเนินกิจกรรม เพื่อเป็นการทบทวนบทบาทและภารกิจเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรมในโอกาสต่อไป วาระที่ 3 เรื่องอื่น ๆ - เสนอให้มีกิจกรรมส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรให้มีความยั่งยืนและสามารถเป็นครอบครัวแบบอย่างด้านการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพร้อมมีงบประมาณในการต่อยอดส่งเสริมกิจกรรม - เสนอให้องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญาบรรจุเข้าสู่แผนชุมชน เพื่อให้การสนับสนุนและต่อยอดงบประมาณดำเนินการสืบไป

     

    0 0

    2. อบรมอาสาสมัครข้อมูลสุขภาวะชุมชน

    วันที่ 25 มีนาคม 2555 เวลา 09:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ระยะเวลา 2 วัน เริ่มเวลา 9:00 น. ถึง 15:00 น. 2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. อาสาสมัครมีศักยภาพในการถ่ายทอดองค์ความรู้ในเรื่องปัญหาและสุขภาพที่มีความเสี่ยงได้

    2. อาสาสมัครมีแนวทางแก้ไขปัญหาและให้การช่วยเหลือแก่ครอบครอบกลุ่มเสียง

    3. อาสาสมัครสามารถประสานกับหน่วยงานในพื้นที่ได้  เข้าถืง พัฒนาชุมชนแบบพอเพืยงด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อต้านอนุมูลอิสระรอบรั้วบ้าน  ด้วยปลุกทุกอย่างที่กินได้

     

    0 0

    3. อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยียนติดตามครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2555

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เริ่มลงพื้นที่เวลา 13:00 น จนถึงเวลา 17:00 น.

    2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    4. อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยียนติดตามครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 2 สิงหาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เริ่มลงพื้นที่เวลา 13:00 น จนถึงเวลา 17:00 น.

    2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    5. อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยียนติดตามครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 30 สิงหาคม 2555 เวลา 13:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เริ่มลงพื้นที่เวลา 13:00 น จนถึงเวลา 17:00 น.

    2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    6. อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยียนติดตามครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 5 กันยายน 2555 เวลา 13:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เริ่มลงพื้นที่เวลา 13:00 น จนถึงเวลา 17:00 น.

    2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    7. อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยียนติดตามครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 3 ตุลาคม 2555 เวลา 13:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เริ่มลงพื้นที่เวลา 13:00 น จนถึงเวลา 17:00 น.

    2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    8. อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยียนติดตามครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เริ่มลงพื้นที่เวลา 13:00 น จนถึงเวลา 17:00 น.

    2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    9. อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยียนติดตามครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 3 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เริ่มลงพื้นที่เวลา 13:00 น จนถึงเวลา 17:00 น.

    2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    10. อาสาสมัครลงปฏิบัติการในพื้นที่เยี่ยมเยียนติดตามครอบครัวผู้ป่วย ,กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 10 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เริ่มลงพื้นที่เวลา 13:00 น จนถึงเวลา 17:00 น.

    2.คณะทำงาน หมู่บ้านละ 8 ถึง 9 คน รวม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    11. ทบทวนการเขียนรายงานกิจกรรม

    วันที่ 29 ธันวาคม 2555 เวลา 09.00 น. ถึง 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมและสรุปกิจกรรมที่ผ่านมาสะท้อนปัญหาและชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. กลุ่มเยาวชนมีการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เพื่อต้านภัยยาเสพติด

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อส่งเสริมกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มเด็กกำพร้า กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ให้สามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างถัวถึงและเท่าเทียม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อสนับสนุนให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการเครือข่ายสุขภาพชุมชน ทั้งกลุ่มอาชีพ องค์กรการเงินหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการระบบการดูแลสุขภาพเพื่อนำไปสู่การวางแผนและการปฏิบัติร่วมกัน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขเชิงรุกในพื้นที่โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต (2) เพื่อส่งเสริมกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มเด็กกำพร้า กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ให้สามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างถัวถึงและเท่าเทียม (3) เพื่อสนับสนุนให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการเครือข่ายสุขภาพชุมชน ทั้งกลุ่มอาชีพ องค์กรการเงินหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการระบบการดูแลสุขภาพเพื่อนำไปสู่การวางแผนและการปฏิบัติร่วมกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการองค์กรเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวังพญา

    รหัสโครงการ 55-00227 รหัสสัญญา 55-00-0240 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2555 - 1 มีนาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เป็นกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับการอบรม และผ่านกระบวนการแล้ว สามารถช่วยเหลือชุมชนในโครงการอื่นในระยะยาวได้

    จากกิจกรรมโครงการ พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเฉพาะผู้สูงอายุ ในการดูแลตัวเองอย่างถูกวิธี

    จากกิจกรรมการลงพื้นที่ของอาสาสมัคร

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการบริโภคอาหารที่ผลิตได้เองจากครัวเรือน โดยเน้นอาหารที่ปลอดสารพิษ การลด หวาน มัน เค็ม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    ส่วนใหญ่จะเป็นเยาวชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    ชุมชนมุสลิมส่วนใหญ่ ไม่ปรากฎปัญหาเหล่านี้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    การทำกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน เป็นการลดความเครียดได้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการนำภูมิปัญญามาใช้ในการดูแลสุขภาพ และใช้พืชสมุนไพรเป็นอาหาร

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    เน้นการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดรงตนในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ลดการใช้สารเคมี

    จากกิจกรรมของโครงการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    สังคมมีสภาพที่ดีขึ้น เนื่องจากสมาชิกได้มีโอกาสในการพบปะพูดคุย และมีกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานเพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งด้านองค์ความรู้ และเครื่องมือ ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีอาชีพเสริม ลดรายจ่ายของครัวเรือนและมีสภาพทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    เป็นการเพิ่มช่องทาง เนื่องจากอาสาสมัครในโครงการ เป็นกลุ่ม อสม. ทำให้การให้บริการของ หน่วยสาธารณสุขได้รับข้อมูลได้อย่างครบถ้วน และรวดเร็ว

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีการผลักดันให้กลุ่มโครงการเดิม กลายเป็นกลุ่มที่เป็นทางการในชุมชน เพื่อทำหน้าที่ในด้านการดูแลสุขภาวะชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการเก็บข้อมูลโดยกลุ่มอาสาสมัคร

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการองค์กรเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบลวังพญา จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 55-00227

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพารีเด๊าะ หะยีสะมะแอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด